กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก


“ โครงการนักเรียนเทศบาลโก-ลกเหาไม่มี สุขอนามัยดี ชีวีมีสุข ประจำปี 2567 ”

ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางสาวพนิดา รัตนสุริยา

ชื่อโครงการ โครงการนักเรียนเทศบาลโก-ลกเหาไม่มี สุขอนามัยดี ชีวีมีสุข ประจำปี 2567

ที่อยู่ ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 67-L6961-1-12 เลขที่ข้อตกลง 8/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2567 ถึง 31 มีนาคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการนักเรียนเทศบาลโก-ลกเหาไม่มี สุขอนามัยดี ชีวีมีสุข ประจำปี 2567 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการนักเรียนเทศบาลโก-ลกเหาไม่มี สุขอนามัยดี ชีวีมีสุข ประจำปี 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการนักเรียนเทศบาลโก-ลกเหาไม่มี สุขอนามัยดี ชีวีมีสุข ประจำปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 67-L6961-1-12 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2567 - 31 มีนาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 26,570.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 129 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคเหาเป็นปัญหาสาธารณสุขทั่วโลก แต่เหาที่พบบ่อยในเด็กวัย 3-12 ปี คือ เหาศีรษะซึ่งเหาเป็นปรสิตภายนอกที่อาศัยอยู่บนศีรษะของมนุษย์ โดยวงจรชีวิตของเหาศีรษะจะอยู่บนศีรษะของมนุษย์ตลอดชีวิตของมัน โดยจะดูดกินเลือดของโฮสต์เป็นอาหาร โรคเหาจะตรวจพบไข่เหาที่เส้นผมบริเวณท้ายทอยและหลังหู โดยมีอาการคันศีรษะ บางรายอาจไม่แสดงอาการ ส่วนภาวะแทรกซ้อนที่พบได้จากการติดเชื้อเหา ได้แก่ การติดเชื้อแบคทีเรียซ้ําซ้อน ตุ่มหนองที่บริเวณศีรษะ (อรจุฑา ชยางศุ, 2562) เด็กที่เป็นเหาจะมีอาการคันมาก อาจเกาจนหนังศีรษะถลอก อักเสบ และเป็นแผลติดเชื้อได้ นอกจากนี้ยังทำให้เด็กเสียสมาธิในการเรียน บางรายจะมีอาการคันศีรษะมาก และพบตัวเหาและไข่เหาซึ่งเห็นเป็นจุดขาว ๆ ติดอยู่บนบริเวณโคนผมและเส้นผม บางรายอาจมีอาการคันมากตอนกลางคืน จนนอนหลับพักผ่อนไม่เพียงพอ เหาทำให้เกิดแผลที่หนังศีรษะเนื่องจากการเกาเพื่อลดอาการคัน ซึ่งทำให้เกิดการติดเชื้อแบคทีเรียได้
ลักษณะการติดต่อของเหาในเด็กนักเรียนเกิดได้ทั้งทางตรงและทางอ้อมการติดต่อโดยตรงจากคนหนึ่งสู่อีกคนหนึ่งเมื่อนักเรียนอยู่ใกลาชิดกัน (Direct fomite transmission)หรือการติดต่อกันโดยทางอ้อมผ่านการใช้หวี ไดร์เป่าผม หมวก หรือหมอนร่วมกัน (Indirectfomite transmission) ซึ่งการรักษาโรคเหาในปัจจุบัน สามารถใช้ยาฆ่าเหาแบบทา ซึ่งมีประสิทธิภาพที่ค่อนข้างดี โดยทาลงบนผมที่แห้งให้ทั่วศีรษะ ทิ้งไว้ 10 นาที ล้างออกด้วยน้ำสะอาด อาจทำซ้ำเมื่อครบ 1 สัปดาห์
ซึ่งจากการตรวจสุขภาพเด็กนักเรียนชั้น ป.1-4 ประจำปีการศึกษา 2566 จำนวนทั้งหมด 865 คน พบว่ามีนักเรียนที่เป็นเหา จำนวน 129 คน (ผู้ชาย 1 คน ผู้หญิง 128 คน) คิดเป็นร้อยละ 15 กองสาธารสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก จึงเห็นความสำคัญที่ต้องกำจัดเหาให้แก่นักเรียนในโรงเรียน และให้สุขศึกษาแก่นักเรียนเพื่อสุขภาอนามัยที่แข็งแรง จึงได้จัดทำโครงการนักเรียนเทศบาลโก-ลกเหาไม่มี สุขอนามัยดี ชีวีมีสุข ประจำปี 2567 ขึ้นเพื่อรณรงค์กำจัดโรคเหาในนักเรียน โดยมุ่งหวังให้นักเรียนกลุ่มเป้าหมายเห็นความสำคัญของการดูแลรักษาความสะอาดของร่างกายและศีรษะ ที่จะช่วยป้องกันโรคเหาและลดการแพร่ระบาดของโรคเหาต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีความรู้เรื่องโรคเหา การป้องกันและมีพฤติกรรมของสุขภาพอนามัยที่ถูกต้อง
  2. เพื่อให้นักเรียนที่เป็นเหาได้รับการกำจัดเหาที่โรงเรียน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. เหาหาย สบายหัว

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 129
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. นักเรียนมีความรู้เรื่องโรคเหา การป้องกันและมีพฤติกรรมของสุขภาพอนามัยที่ถูกต้อง
  2. นักเรียนที่เป็นเหาได้รับการกำจัดเหาที่โรงเรียน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีความรู้เรื่องโรคเหา การป้องกันและมีพฤติกรรมของสุขภาพอนามัยที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ร้อยละของนักเรียนมีความรู้เรื่องโรคเหา การป้องกันและมีพฤติกรรมของสุขภาพอนามัยที่ถูกต้อง
60.00 80.00

 

2 เพื่อให้นักเรียนที่เป็นเหาได้รับการกำจัดเหาที่โรงเรียน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของนักเรียนที่เป็นเหาได้รับการกำจัดเหาที่โรงเรียน
100.00 80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 129
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 129
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีความรู้เรื่องโรคเหา การป้องกันและมีพฤติกรรมของสุขภาพอนามัยที่ถูกต้อง (2) เพื่อให้นักเรียนที่เป็นเหาได้รับการกำจัดเหาที่โรงเรียน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) เหาหาย สบายหัว

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการนักเรียนเทศบาลโก-ลกเหาไม่มี สุขอนามัยดี ชีวีมีสุข ประจำปี 2567 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 67-L6961-1-12

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวพนิดา รัตนสุริยา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด