กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองคอหงส์


“ โครงการเยี่ยมบ้าน เยียนใจ ชุมชนบ้านคอหงส์ 2 ”

ตำบลคอหงส์ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
พ.ต.หญิงน้ำทิพย์ คงทอง

ชื่อโครงการ โครงการเยี่ยมบ้าน เยียนใจ ชุมชนบ้านคอหงส์ 2

ที่อยู่ ตำบลคอหงส์ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 67-L7257-1-13 เลขที่ข้อตกลง 16/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2567 ถึง 15 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเยี่ยมบ้าน เยียนใจ ชุมชนบ้านคอหงส์ 2 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคอหงส์ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองคอหงส์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเยี่ยมบ้าน เยียนใจ ชุมชนบ้านคอหงส์ 2



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเยี่ยมบ้าน เยียนใจ ชุมชนบ้านคอหงส์ 2 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคอหงส์ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 67-L7257-1-13 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2567 - 15 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,420.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองคอหงส์ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การพัฒนาสุขภาพและอนามัยของบุคคลเป็นองค์ประกอบและเป็นพื้นฐานของการพัฒนาศักยภาพของคนทั้งร่างกาย จิตใจ และสติปัญญา การพัฒนาทางด้านสาธารณสุขจึงมีส่วนสำคัญยิ่งต่อการพัฒนาคนให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี การดูแลสุขภาพบุคคลแบบองค์รวมเป็นสิ่งสำคัญ องค์การอนามัยโลกรายงานว่ากลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเป็นปัญหาสุขภาพอันดับหนึ่งของโลกและเป็นอันดับหนึ่งในประเทศไทย ทั้งในมิติของจำนวนการเสียชีวิตและภาระโรคโดยรวม ประชากรที่เป็นกลุ่มเสี่ยงและป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังมีจำนวนเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วและมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยโรคหลอดเลือดสมองมีอัตราการตายเพิ่มมากที่สุดจาก 33.4 เพิ่มเป็น 40.9 ต่อแสนประชากร รองลงมาคือ โรคหัวใจขาดเลือด จาก 22.4 เป็น 27.8 ต่อแสนประชากร ข้อมูลจากกรมส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ รายงานว่าประเทศไทยมีจำนวนคนพิการทั้งสิ้น 2.1 ล้านคน ผู้ป่วยที่มีความพิการแต่ละประเภทมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น เนื่องจากมีผู้ป่วยบางรายเจ็บป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง จนนำไปสู่ความพิการได้ การพัฒนาคุณภาพชีวิตประชากรในกลุ่มแม่และเด็ก ถือเป็นเป้าหมายหนึ่งที่มีความสำคัญของการพัฒนาด้านสาธารณสุข งานอนามัยแม่และเด็กเป็นบริการสุขภาพขั้นพื้นฐานที่สำคัญของการพัฒนาคุณภาพประชากรที่ควรได้รับการดูแลสุขภาพอย่างต่อเนื่อง

ในเขตพื้นที่ค่ายเสนาณรงค์ จากผลการตรวจร่างกายประจำปีกำลังพลและประวัติการรับบริการในโรงพยาบาลค่ายเสนาณรงค์ในกลุ่มครอบครัว พบว่าอัตราการป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นในทุกปี เกิดการเสียชีวิตของกำลังพลที่เป็นผู้ป่วยติดเตียงหรือพิการทางการเคลื่อนไหว อีกทั้งยังมีผู้ป่วยสภาพทางจิตใจ อยู่ในภาวะเครียดสูงทั้งตัวบุคคล หรือผู้ดูแล(care giver) และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์เด็กอายุ 0 – 3 ปีรวมไปถึงบุตรที่ต้องการพิเศษควรได้รับการดูแลอย่างเนื่อง เสริมสร้างทักษะและพัฒนาการให้เหมาะสมแก่กลุ่มเด็กเหล่านี้ให้มีพัฒนาการที่ดีขึ้น ควรตระหนักและส่งเสริมความสำคัญ ของประโยชน์ของการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ การเสริมพลังครอบครัว ชุมชน สังคมให้ร่วมมือกันเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ได้สำเร็จ

จากการสำรวจผู้ป่วยกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง, ผู้ป่วยทุพพลภาพ,กลุ่มภาวะเครียด, หญิงตั้งครรภ์, เด็กอายุ 0–3 ปี และบุตรที่มีความต้องการพิเศษ กลุ่มเป้าหมายทั้งหมดควรได้รับการแก้ไขปัญหาสุขภาพ และจำเป็นต้องได้รับการดูแล การให้คำแนะนำ และการติดตามการเยี่ยมบ้านอย่างต่อเนื่องและเหมาะสม เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้น การเยี่ยมบ้านถือว่าเป็นการประเมินสุขภาพของประชาชนและการป้องกันโรคแทรกซ้อน เป็นการสร้างขวัญและกำลังใจในการให้บริการสาธารณสุข กิจกรรมหลักคือ การสร้างเสริมสุขภาพ การควบคุมป้องกันโรค การรักษาพยาบาลและการฟื้นฟูสมรรถภาพ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้ป่วยสามารถควบคุมอาการของโรคได้ และไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนขณะอยู่บ้าน
  2. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ และมารดาหลังคลอดไม่มีภาวะแทรกซ้อน สามารถดูแลตนเองและทารก หลังคลอดได้ถูกต้อง
  3. เพื่อให้เด็กอายุ 0 – 3 ปี มีพัฒนาการที่ดี ร่างกายแข็งแรง เหมาะสมตามวัย
  4. บุตรที่มีความต้องการพิเศษสามารถเข้าถึงแหล่งสิทธิประโยชน์ และช่วยเหลือตนเองในชีวิตประจำวันเบื้องต้นได้
  5. ประชาชนได้รับบริการด้านสาธารณสุขอย่างทั่วถึง สร้างขวัญกำลังใจแก่ผู้ป่วยทุพพลภาพ ให้พร้อมที่จะดำรงชีวิตต่อไปได้อย่างมีความสุขและเข้าถึงด้านได้ง่าย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมเยี่ยมบ้านชุมชนบ้านคอหงส์ 2

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้ป่วยทุพพลภาพ หญิงตั้งครรภ์ เด็กอายุ 0 – 3 ปี และบุตรที่มีความต้องการพิเศษ ได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่องแบบองค์รวม ทั้งทางด้านร่างกายจิตใจ อารมณ์ และสังคม ให้มีสุขภาพกาย สุขภาพจิตที่ดีขึ้น
  2. ผู้ป่วยโรคเรื้อรังสามารถควบคุมอาการของโรคได้ ไม่เกิดภาวะแทรกซ้อน และไม่เกิดอาการกำเริบเฉียบพลันขณะอยู่บ้าน
  3. เด็กอายุ 0 – 3 ปี มีพัฒนาการที่ถูกต้องสมวัย ร่างกายแข็งแรง
  4. บุตรที่มีความต้องการพิเศษสามารถเข้าถึงแหล่งสิทธิประโยชน์ และช่วยเหลือตนเองในชีวิตประจำวันเบื้องต้นได้
  5. ญาติหรือผู้ดูแลมีส่วนร่วม และไม่เกิดความเครียดในการดูแลผู้ป่วย
  6. ประชาชนได้รับบริการด้านสาธารณสุขอย่างทั่วถึง และเข้าถึงได้ง่าย

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้ป่วยสามารถควบคุมอาการของโรคได้ และไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนขณะอยู่บ้าน
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยโรคเรื้อรังและภาวะเครียดสามารถควบคุมอาการของโรคให้อยู่ในเกณฑ์ได้ ร้อยละ 100
0.00 0.00

 

2 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ และมารดาหลังคลอดไม่มีภาวะแทรกซ้อน สามารถดูแลตนเองและทารก หลังคลอดได้ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์และมารดาหลังคลอดไม่มีภาวะซึมเศร้า ภาวะแทรกซ้อน และสามารถดูแลตัวเองได้ ร้อยละ 100
0.00

 

3 เพื่อให้เด็กอายุ 0 – 3 ปี มีพัฒนาการที่ดี ร่างกายแข็งแรง เหมาะสมตามวัย
ตัวชี้วัด : เด็กอายุ 0 – 3 ปี มีพัฒนาการที่ดี ร่างกายแข็งแรง เหมาะสมตามวัย ร้อยละ 100
0.00

 

4 บุตรที่มีความต้องการพิเศษสามารถเข้าถึงแหล่งสิทธิประโยชน์ และช่วยเหลือตนเองในชีวิตประจำวันเบื้องต้นได้
ตัวชี้วัด : บุตรที่มีความต้องการพิเศษสามารถเข้าถึงแหล่งสิทธิประโยชน์ และช่วยเหลือตนเองในชีวิตประจำวันเบื้องต้นได้ ร้อยละ 80
0.00

 

5 ประชาชนได้รับบริการด้านสาธารณสุขอย่างทั่วถึง สร้างขวัญกำลังใจแก่ผู้ป่วยทุพพลภาพ ให้พร้อมที่จะดำรงชีวิตต่อไปได้อย่างมีความสุขและเข้าถึงด้านได้ง่าย
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วย และผู้ดูแลมีความพึงพอใจในโครงการ ร้อยละ 80
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ป่วยสามารถควบคุมอาการของโรคได้ และไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนขณะอยู่บ้าน (2) เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ และมารดาหลังคลอดไม่มีภาวะแทรกซ้อน สามารถดูแลตนเองและทารก หลังคลอดได้ถูกต้อง (3) เพื่อให้เด็กอายุ 0 – 3 ปี มีพัฒนาการที่ดี ร่างกายแข็งแรง เหมาะสมตามวัย (4) บุตรที่มีความต้องการพิเศษสามารถเข้าถึงแหล่งสิทธิประโยชน์ และช่วยเหลือตนเองในชีวิตประจำวันเบื้องต้นได้ (5) ประชาชนได้รับบริการด้านสาธารณสุขอย่างทั่วถึง สร้างขวัญกำลังใจแก่ผู้ป่วยทุพพลภาพ ให้พร้อมที่จะดำรงชีวิตต่อไปได้อย่างมีความสุขและเข้าถึงด้านได้ง่าย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมเยี่ยมบ้านชุมชนบ้านคอหงส์ 2

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเยี่ยมบ้าน เยียนใจ ชุมชนบ้านคอหงส์ 2 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 67-L7257-1-13

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( พ.ต.หญิงน้ำทิพย์ คงทอง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด