กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองคอหงส์


“ โครงการ 3 วัย 3 สถาบัน 3 พลัง สู่สุขภาวะคอหงส์ที่ยั่งยืน ”

ตำบลคอหงส์ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
รศ.ดร. กาญจน์สุนภัส บาลทิพย์

ชื่อโครงการ โครงการ 3 วัย 3 สถาบัน 3 พลัง สู่สุขภาวะคอหงส์ที่ยั่งยืน

ที่อยู่ ตำบลคอหงส์ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 67-L7257-2-01 เลขที่ข้อตกลง 18/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2567 ถึง 15 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ 3 วัย 3 สถาบัน 3 พลัง สู่สุขภาวะคอหงส์ที่ยั่งยืน จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคอหงส์ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองคอหงส์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ 3 วัย 3 สถาบัน 3 พลัง สู่สุขภาวะคอหงส์ที่ยั่งยืน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ 3 วัย 3 สถาบัน 3 พลัง สู่สุขภาวะคอหงส์ที่ยั่งยืน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคอหงส์ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 67-L7257-2-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2567 - 15 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 48,025.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองคอหงส์ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี (พ.ศ.2560-2579)ได้มุ่งเน้นด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ การพัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต ซึ่งรวมถึงช่วงวัยเรียน และการตระหนักถึงพหุปัญญาของมนุษย์ที่หลากหลาย โดยการปลูกฝังค่านิยมและวัฒนธรรมผ่านการเลี้ยงดูในครอบครัว ระบบสถานศึกษา สภาพแวดล้อม จากยุทธศาสตร์ดังกล่าว นำมาซึ่งการจัดทำโครงการ “เด็กไทยยุคใหม่หัวใจกตัญญูเพื่อสุขภาวะผู้สูงวัย” โดยมีโรงเรียนเป็นฐานการพัฒนา

ความกตัญญูเป็นรากฐานสำคัญของชีวิต เป็นพื้นฐานในการพัฒนาเยาวชน เป็นค่านิยมและวัฒนธรรม ที่ควรได้รับการปลูกฝัง เพราะนำมาซึ่งการส่งเสริมการมีสุขภาพดี การมีชีวิตที่มีความสุข และสมดุล ความรู้สึกอิ่มเอมใจ ความรู้สึกอบอุ่นใจ และมีสิ่งยึดเหนี่ยวจิตใจ และเป็นเครื่องเหนี่ยวนำให้เยาวชนค้นพบเป้าหมายชีวิต ลดพฤติกรรมเสี่ยง เพิ่มการมีจิตอาสา และดำเนินชีวิตอย่างมีเป้าหมาย

ประเทศไทยได้ก้าวสู่การเป็นประเทศภาวะประชากรผู้สูงอายุ (population aging) หรือประเทศที่มีประชากรอายุมากกว่า 60 ปีขึ้นไปมีสัดส่วนเกินร้อยละ 10 ของประชากรทั้งหมดและคาดว่าจะมีประชากรเข้าสู่วัยผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป ปีละประมาณ 1 ล้านคน โดยผู้สูงอายุบางรายเป็นวัยที่ร่างกายเริ่มเสื่อมถอยและเกิดโรคต่าง ๆ โดยเฉพาะกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง และโรคซึมเศร้า ซึ่งสาเหตุสำคัญของโรคซึมเศร้าของผู้สูงอายุ คือ สัมพันธภาพในครอบครัว และโรคเหล่านี้ส่งผลกระทบทางกาย เช่น น้ำหนักลด นอนไม่หลับ ไม่สามารถปฏิบัติกิจวัตรประจำวันได้ด้วยตนเอง และมีภาวะทุพพลภาพ (disability) และส่งผลกระทบต่อจิตสังคมและจิตวิญญาณ เช่น ท้อแท้ สิ้นหวังและไม่มีคุณค่า คิดร้ายต่อตนเอง คุณภาพชีวิตต่ำลง และนำไปสู่การทำร้ายตนเอง ซึ่งภาวะทุพพลภาพจะพบมากยิ่งขึ้นและมีความรุนแรงมากขึ้นเมื่ออายุเพิ่มสูงขึ้น นอกจากนี้ ผู้สูงอายุไทยที่อยู่ตามลำพังเพียงคนเดียว มีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นเรื่อย ๆ จากร้อยละ 6 ในปี 2545 เป็นร้อยละ 11 ในปี 2560 สัดส่วนผู้สูงอายุที่อยู่ตามลำพังเหล่านี้อาจจัดอยู่ในกลุ่มประชากรเปราะบางได้ ปัญหาของผู้สูงอายุที่อยู่อาศัยตามลำพังที่พบมากที่สุด คือ รู้สึกเหงา

ดังนั้นการส่งเสริมให้เยาวชนได้เข้ามามีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุ ย่อมมีความสำคัญในการเพิ่มความสุขและคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ ขณะเดียวกันยังเป็นกระบวนการสำคัญที่หล่อหลอมจิตพฤติกรรมจริยธรรม คุณธรรม และความกตัญญูแก่เยาวชนด้วย ดังนั้นผู้จัดจึงได้จัดโครงการ “3 วัย 3 สถาบัน 3 พลัง สู่สุขภาวะคอหงส์ที่ยั่งยืน” ขึ้น ซึ่ง 3 วัย ประกอบด้วย วัยเด็ก วัยผู้ใหญ่ และวัยผู้สูงอายุ 3 สถาบัน ได้แก่ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ โรงเรียนเสนาณรงค์วิทยา (กองทัพบกอุปถัมภ์) โรงเรียนบ้านคลองหวะ และประธาน อสม. และอสม.ชุมชนคลองเตย 6 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) สร้างเสริมความกตัญญูแก่เยาวชน ทั้งความกตัญญูต่อตนเอง ต่อบุคคลอื่น และสิ่งแวดล้อม 2) พัฒนาศักยภาพด้านความรู้และทักษะของเยาวชน ในการดูแลผู้สูงอายุด้วยหัวใจและจิตวิญญาณของความเป็นมนุษย์ 3) ส่งเสริมให้ผู้สูงอายุได้รับการดูแลสุขภาพแบบองค์รวมด้วยหัวใจและจิตวิญญาณของความเป็นมนุษย์จากเยาวชนและมีความสุขในชีวิต

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. นักเรียนมีความรู้และทักษะในการดูแลผู้สูงอายุ และผู้พึ่งพิงด้วยหัวใจกตัญญูและจิตวิญญาณของความเป็นมนุษย์
  2. ผู้สูงอายุและผู้พึ่งพิงได้รับการดูแลสุขภาพแบบองค์รวมจากนักเรียน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมประชุมคณะทำงาน
  2. กิจกรรมการปลูกฝังความกตัญญู และคุณสมบัติที่ดีของผู้ดูแล
  3. กิจกรรมการปลูกฝังความมีคุณค่าในตนเอง
  4. อบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อเพิ่มความรู้และทักษะ การดูแลสุขภาพกาย จิตสังคม และจิตวิญญาณแก่นักเรียนในการดูแลผู้สูงอายุด้วยหัวใจกตัญญูและจิตวิญญาณของความเป็นมนุษย์

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 40
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เยาวชนที่เข้าร่วมโครงการได้รับการพัฒนาความรู้และทักษะในการดูแลผู้สูงอายุด้วยหัวใจและจิตวิญญาณของความเป็นมนุษย์ (40 คน)
  2. ผู้สูงอายุ และผู้พึ่งพิง ได้รับการดูแลสุขภาพแบบองค์รวมด้วยหัวใจและจิตวิญญาณของความเป็นมนุษย์จากเยาวชนบริบาล (10 คน)
  3. นักเรียนสามารถเผยแพร่ความรู้แก่บุคคลอื่น เช่น สมาชิกในครอบครัว
  4. โรงเรียนมีรูปแบบในการสร้างเสริมคุณธรรม จริยธรรม และความกตัญญูแก่นักเรียน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 นักเรียนมีความรู้และทักษะในการดูแลผู้สูงอายุ และผู้พึ่งพิงด้วยหัวใจกตัญญูและจิตวิญญาณของความเป็นมนุษย์
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของเยาวชนที่เข้าร่วมโครงการได้รับการพัฒนาความรู้และทักษะ ในการดูแลผู้สูงอายุด้วยหัวใจกตัญญูและจิตวิญญาณของความเป็นมนุษย์ (40 คน)
0.00

 

2 ผู้สูงอายุและผู้พึ่งพิงได้รับการดูแลสุขภาพแบบองค์รวมจากนักเรียน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของผู้สูงอายุได้รับการดูแลสุขภาพแบบองค์รวมจากนักเรียน (10 คน)
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 40
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) นักเรียนมีความรู้และทักษะในการดูแลผู้สูงอายุ และผู้พึ่งพิงด้วยหัวใจกตัญญูและจิตวิญญาณของความเป็นมนุษย์ (2) ผู้สูงอายุและผู้พึ่งพิงได้รับการดูแลสุขภาพแบบองค์รวมจากนักเรียน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมประชุมคณะทำงาน (2) กิจกรรมการปลูกฝังความกตัญญู และคุณสมบัติที่ดีของผู้ดูแล (3) กิจกรรมการปลูกฝังความมีคุณค่าในตนเอง (4) อบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อเพิ่มความรู้และทักษะ การดูแลสุขภาพกาย จิตสังคม และจิตวิญญาณแก่นักเรียนในการดูแลผู้สูงอายุด้วยหัวใจกตัญญูและจิตวิญญาณของความเป็นมนุษย์

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการ 3 วัย 3 สถาบัน 3 พลัง สู่สุขภาวะคอหงส์ที่ยั่งยืน จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 67-L7257-2-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( รศ.ดร. กาญจน์สุนภัส บาลทิพย์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด