กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปุโละปุโย


“ โครงการปฐมพยาบาลและการช่วยเหลือฟื้นคืนชีพ ”



หัวหน้าโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการปฐมพยาบาลและการช่วยเหลือฟื้นคืนชีพ

ที่อยู่ จังหวัด

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปฐมพยาบาลและการช่วยเหลือฟื้นคืนชีพ จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปุโละปุโย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปฐมพยาบาลและการช่วยเหลือฟื้นคืนชีพ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปฐมพยาบาลและการช่วยเหลือฟื้นคืนชีพ " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน ยังไม่ระบุ - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 75,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปุโละปุโย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตำบลปุโละปุโย อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานีเป็นพื้นที่ที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดเหตุฉุกเฉินในทุกประเภท เช่น อุบัติเหตุทางถนน การจมน้ำ สัตว์มีพิษกัดต่อย ฯลฯ ซึ่งในปี พ.ศ.2565 ตำบลปุโละปุโยมีเหตุฉุกเฉินที่ต้องส่งต่อรักษาที่โรงพยาบาลหนองจิกทั้งหมด 38 ราย แบ่งเป็นอุบัติเหตุทางถนนจำนวน 24 ราย ถูกสัตว์มีพิษกัดต่อย จำนวน 7 ราย เหตุจมน้ำจำนวน 2 ราย และมีเหตุการณ์ที่เกิดการหายใจติดขัดเนื่องจากสิ่งแปลกปลอมหรืออาหารติดคอจำนวน 5 ราย ซึ่งทุกเหตุการณ์ประชาชนทั่วไปสามารถปฐมพยาบาลเบื้องต้นและช่วยเหลือฟื้นคืนชีพเพื่อลดการสูญเสียแก่ชีวิตและการบาดเจ็บก่อนนำส่งโรงพยาบาลได้ แต่จากการบันทึกข้อมูลทุกเหตุการณ์ประชาชนในที่เกิดเหตุไม่สามารถปฐมพยาบาลและช่วยเหลือฟื้นคืนชีพได้เลย อีกทั้งการเข้าถึงการบริการด้านการแพทย์ฉุกเฉินเป็นไปด้วยยากและล่าช้า สาเหตุที่ประชาชนในที่เกิดเหตุนั้นๆไม่สามารถปฐมพยาบาลและช่วยเหลือฟื้นคืนชีพได้ เกิดจากพฤติกรรมที่ไม่มีความรู้หรือทักษะในการช่วยเหลือ ไม่กล้าที่จะช่วยเหลือ อีกทั้งประชาชนยังมองถึงการช่วยเหลือเป็นหน้าที่ของครอบครัวหรือญาติของผู้ประสบเหตุเท่านั้น ปัญหาทางกายภาพที่ขาดแคลนด้านอุปกรณ์ในการช่วยเหลือ และยังไม่มีทีมงานหรือหน่วยงานที่ให้ความรู้และฝึกทักษะการปฐมพยาบาลให้กับประชาชนอย่างสม่ำเสมอ จากสาเหตุดังกล่าวเมื่อประชาชนในที่เกิดเหตุไม่กล้าที่จะปฐมพยาบาลเบื้องต้นหรือให้ผู้ประสบเหตุ อาจส่งผลกระทบต่อสุขภาพได้ ทั้งเสียชีวิต พิการ และบาดเจ็บขั้นรุนแรงเพิ่มขึ้นได้ อีกทั้งยังส่งผลกระทบต่อสังคมได้เมื่อผู้ที่มีความสามารถหรือทักษะการช่วยเหลือไม่ให้ความช่วยเหลือผู้ประสบเหตุ อาจทำให้เกิดความไม่พอใจของญาติผู้ประสบเหตุ ผลกระทบทางเศรษฐกิจต้องเสียค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้นเมื่อผู้ช่วยเหลือปฐมพยาบาลผิดวิธี จากปัญหาดังกล่าวทางผู้รับผิดชอบโครงการเล็งเห็นความสำคัญในการให้ความรู้เรื่องการปฐมพยาบาลเบื้องต้น เพิ่มความมั่นใจในการช่วยเหลือ ลดความสูญเสียเพิ่มขึ้นได้ อีกทั้งยังมีการจัดตั้งทีมเฝ้าระวังเหตุฉุกเฉินในพื้นที่เพื่อเพิ่มการเข้าถึงบริการด้านการแพทย์ฉุกเฉิน จึงได้จัดโครงการ“การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและช่วยเหลือ ฟื้นคืนชีพ ตำบลปุโละปุโย”นี้ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. ผู้เข้าร่วมอบรมสามารถปฐมพยาบาลเบื้องต้นและมีทักษะการช่วยเหลือฟื้นคืนชีพได้อย่างถูกวิธีและปลอดภัย 2. เกิดทีมเฝ้าระวังด้านการแพทย์ฉุกเฉินระดับหมู่บ้าน 3. ผู้ประสบเหตุฉุกเฉิน ได้รับการปฐมพยาบาลหรือช่วยเหลือฟื้นคืนชีพจากทีมก่อนนำส่งโรงพยาบาล
  2. เพื่อลดจำนวนผู้เสียชีวิตจากรถจักรยานยนต์

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1.ประชุมเจ้าหน้าที่รพ.สต.ปุโละปุโย ผู้ใหญ่บ้าน ประชาชนในพื้นที่ปุโละปุโยและอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านเพื่อสำรวจกลุ่มเป้าหมาย ชี้แจงโครงการและแต่งตั้งคณะกรรมการ
  2. 2.สำรวจกลุ่มเป้าหมายที่จะเข้าอบรม
  3. 3.จัดทำโครงการเสนอขอสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลปุโละปุโย
  4. 4.อบรมกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ตำบลปุโละปุโยแบ่งเป็น 5 รุ่น จัดกิจกรรมอบรมและฝึกทักษะการช่วยชีวิตเบื้องต้นกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ตำบลปุโละปุโย (รุ่นที่ 1 ) จำนวน 50 คน
  5. จัดกิจกรรมอบรมและฝึกทักษะการช่วยชีวิตเบื้องต้นกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ตำบลปุโละปุโย(รุ่นที่ 2 ) จำนวน 50 คน
  6. จัดกิจกรรมอบรมและฝึกทักษะการช่วยชีวิตเบื้องต้นกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ตำบลปุโละปุโย (รุ่นที่ 3 )จำนวน 50 คน
  7. จัดกิจกรรมอบรมและฝึกทักษะการช่วยชีวิตเบื้องต้นกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ตำบลปุโละปุโย(รุ่นที่ 4 )จำนวน 50 คน
  8. จัดกิจกรรมอบรมและฝึกทักษะการช่วยชีวิตเบื้องต้นกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ตำบลปุโละปุโย (รุ่นที่ 5 ) จำนวน 50 คน
  9. จัดซื้อจัดทำป้ายไวนิล วัสดุอุปกรณ์ ตลอดจนจัดเตรียมสถานที่สำหรับจัดกิจกรรม
  10. ติดตาม และประเมินผลการดำเนินโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ประชาชนตำบลปุโละปุโย 1

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้เข้าร่วมอบรมสามารถปฐมพยาบาลเบื้องต้นและมีทักษะการช่วยเหลือฟื้นคืนชีพได้อย่างถูกวิธีและปลอดภัย
  2. เกิดทีมเฝ้าระวังด้านการแพทย์ฉุกเฉินระดับหมู่บ้าน
  3. ผู้ประสบเหตุฉุกเฉิน ได้รับการปฐมพยาบาลหรือช่วยเหลือฟื้นคืนชีพจากทีมก่อนนำส่งโรงพยาบาล

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. ผู้เข้าร่วมอบรมสามารถปฐมพยาบาลเบื้องต้นและมีทักษะการช่วยเหลือฟื้นคืนชีพได้อย่างถูกวิธีและปลอดภัย 2. เกิดทีมเฝ้าระวังด้านการแพทย์ฉุกเฉินระดับหมู่บ้าน 3. ผู้ประสบเหตุฉุกเฉิน ได้รับการปฐมพยาบาลหรือช่วยเหลือฟื้นคืนชีพจากทีมก่อนนำส่งโรงพยาบาล
ตัวชี้วัด : ผลลัพธ์ 1) มีความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและช่วยเหลือฟื้นคืนชีพได้ ตัวชี้วัด - ร้อยละ 100 ของผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและช่วยเหลือฟื้นคืนชีพตามสถานการณ์ที่เกิดขึ้นอย่างถูกวิธีและปลอดภัย ผลลัพธ์ 2) เกิดกลไกการเฝ้าระวังเหตุฉุกเฉินในพื้นที่ ตัวชี้วัด - มีทีมเฝ้าระวังด้านการแพทย์ฉุกเฉินระดับหมู่บ้าน หมู่บ้านละ 1 ทีม ประกอบด้วย กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน/จนท.สาธารณสุข /อสม. - มีสถานที่สำหรับทีมเฝ้าระวังด้านการแพทย์ฉุกเฉินระดับหมู่บ้าน มีการช่วยเหลือผู้ประสบเหตุฉุกเฉิน ผลลัพธ์ 3) ผู้ประสบเหตุฉุกเฉินได้รับการปฐมพยาบาลหรือช่วยเหลือฟื้นคืนชีพก่อนนำส่งโรงพยาบาล - ผู้ประสบเหตุฉุกเฉินร้อยละ 80 ได้รับการปฐมพยาบาลหรือช่วยเหลือฟื้นคืนชีพก่อนนำส่งโรงพยาบาล - ไม่มีผู้เสียชีวิตจากการช่วยเหลือของทีมเฝ้าระวังเหตุฉุกเฉิน
0.00

 

2 เพื่อลดจำนวนผู้เสียชีวิตจากรถจักรยานยนต์
ตัวชี้วัด : จำนวนผู้เสียชีวิตจากการใช้รถจักรยานยนต์
1.00 1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 1
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
ประชาชนตำบลปุโละปุโย 1

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. ผู้เข้าร่วมอบรมสามารถปฐมพยาบาลเบื้องต้นและมีทักษะการช่วยเหลือฟื้นคืนชีพได้อย่างถูกวิธีและปลอดภัย 2. เกิดทีมเฝ้าระวังด้านการแพทย์ฉุกเฉินระดับหมู่บ้าน 3. ผู้ประสบเหตุฉุกเฉิน ได้รับการปฐมพยาบาลหรือช่วยเหลือฟื้นคืนชีพจากทีมก่อนนำส่งโรงพยาบาล (2) เพื่อลดจำนวนผู้เสียชีวิตจากรถจักรยานยนต์

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.ประชุมเจ้าหน้าที่รพ.สต.ปุโละปุโย ผู้ใหญ่บ้าน ประชาชนในพื้นที่ปุโละปุโยและอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านเพื่อสำรวจกลุ่มเป้าหมาย ชี้แจงโครงการและแต่งตั้งคณะกรรมการ (2) 2.สำรวจกลุ่มเป้าหมายที่จะเข้าอบรม (3) 3.จัดทำโครงการเสนอขอสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลปุโละปุโย (4) 4.อบรมกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ตำบลปุโละปุโยแบ่งเป็น  5 รุ่น    จัดกิจกรรมอบรมและฝึกทักษะการช่วยชีวิตเบื้องต้นกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ตำบลปุโละปุโย    (รุ่นที่ 1 ) จำนวน 50 คน (5) จัดกิจกรรมอบรมและฝึกทักษะการช่วยชีวิตเบื้องต้นกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ตำบลปุโละปุโย(รุ่นที่ 2 ) จำนวน 50 คน (6) จัดกิจกรรมอบรมและฝึกทักษะการช่วยชีวิตเบื้องต้นกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ตำบลปุโละปุโย (รุ่นที่ 3 )จำนวน 50 คน (7) จัดกิจกรรมอบรมและฝึกทักษะการช่วยชีวิตเบื้องต้นกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ตำบลปุโละปุโย(รุ่นที่ 4 )จำนวน 50 คน (8) จัดกิจกรรมอบรมและฝึกทักษะการช่วยชีวิตเบื้องต้นกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ตำบลปุโละปุโย  (รุ่นที่ 5 )  จำนวน 50 คน (9) จัดซื้อจัดทำป้ายไวนิล วัสดุอุปกรณ์ ตลอดจนจัดเตรียมสถานที่สำหรับจัดกิจกรรม (10) ติดตาม และประเมินผลการดำเนินโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการปฐมพยาบาลและการช่วยเหลือฟื้นคืนชีพ จังหวัด

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด