กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปุโละปุโย


“ โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลปุโละปุโย ประจำปี 2567 ”

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลปุโละปุโย

หัวหน้าโครงการ
นางสาวสุภาภรณ์ รัตนชนะวงษ์

ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลปุโละปุโย ประจำปี 2567

ที่อยู่ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลปุโละปุโย จังหวัด

รหัสโครงการ 67-L3069-10(3)13 เลขที่ข้อตกลง 13/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 19 มิถุนายน 2567 ถึง 30 สิงหาคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลปุโละปุโย ประจำปี 2567 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลปุโละปุโย

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปุโละปุโย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลปุโละปุโย ประจำปี 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลปุโละปุโย ประจำปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลปุโละปุโย รหัสโครงการ 67-L3069-10(3)13 ระยะเวลาการดำเนินงาน 19 มิถุนายน 2567 - 30 สิงหาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปุโละปุโย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เด็กเป็นทรัพยากรที่ทรงคุณค่า และมีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการพัฒนาประเทศชาติในอนาคต การพัฒนาเด็กให้ได้รับความพร้อมด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์สังคม และสติปัญญา จึงนับเป็นภารกิจสำคัญ ที่หน่วยงานซึ่งรับผิดชอบจะต้องตะหนักและให้ความสนใจ การนำเด็กไปโรงเรียนหรือสถานรับเลี้ยงเด็ก ทำให้เด็กเจ็บป่วยได้ง่าย เพราะศูนย์เด็กเล็กและโรงเรียนอนุบาลเป็นสถานที่ที่เด็กอยู่รวมกันเป็นจำนวนมาก ซึ่งพฤติกรรมเด็กที่อยู่ร่วมกันเป็นจำนวนมากในศูนย์เด็กเล็กและโรงเรียนอนุบาล ส่งผลต่อการแพร่กระจายโรคได้ง่าย เช่น การเล่น การคลุกคลีใช้ของร่วมกัน ทำให้ปนเปื้อนและแพร่กระจายเชื้อโรคได้ง่าย หากเด็กเจ็บป่วยก็จะส่งผลกระทบต่อสุขภาพโดยรวมของเด็ก รวมทั้งการเจริญเติบโตพัฒนาการของเด็ก โรคที่พบบ่อยในเด็ก ได้แก่ โรคมือ เท้า ปาก โรคไข้เลือดออก โรคไอกรน โรคRSV โรคอุจจาระร่วง โรคตาแดง โรคหวัด ไข้หวัดใหญ่และโรคหัด การป้องกันดูแลอย่างถูกต้องจะช่วยให้เด็กไปโรงเรียนได้อย่างสนุกสนานและปลอดภัยจากโรคติดต่อที่สามารถป้องกันได้
กองการศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมองค์การบริหารส่วนตำบลปุโละปุโยได้เล็งเห็นความสำคัญของการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคไม่ให้เชื้อโรคแพร่กระจาย และลดการป่วยของเด็ก จึงได้ดำเนินโครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลปุโละปุโย เพื่อให้บรรลุภารกิจในการป้องกันควบคุมโรคและผลักดันให้ศูนย์เด็กเล็กและโรงเรียนอนุบาลมีแนวทางและกลไกการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคที่ดี จึงได้จัดแนวทางการป้องกันควบคุมโรคติดต่อในศูนย์เด็กเล็กและโรงเรียนอนุบาล สำหรับครูผู้ดูแลเด็ก เจ้าหน้าที่สาธารณสุข เจ้าหน้าที่ท้องถิ่นและผู้ที่สนใจ ให้ได้รับความรู้ความเข้าใจและสามารถนำไปปฏิบัติได้อย่างถูกต้องเหมาะสม เกิดระบบการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคติดต่อที่มีประสิทธิภาพ มีการตรวจคัดกรองแยกเด็กป่วยได้รวดเร็ว และมีการรายงานเด็กป่วยที่มีประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้น การเจ็บป่วยลดลงและไม่มีการระบาดของโรคติดต่อในศูนย์เด็กเล็กและโรงเรียนอนุบาล ส่งผลให้การพัฒนาเด็กเป็นไปอย่างมีคุณภาพ ปลอดภัยจากโรคและมาตราฐาน เหมาะสมกับวัยต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ให้ความรู้ในการเฝ้าระวังและควบคุมโรคมือ เท้า ปาก โรคไข้เลือดออก โรคไอกรน โรคRSV โรคอุจจาระร่วง โรคตาแดง และโรคหัดที่อาจเกิดขึ้นในเด็กเล็ก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพองค์ความรู้ด้านการควบคุมและป้องกันโรคติดต่อ
  2. กิจกรรมเรื่องการปฐมพยาบาลเบื้องต้น และการช่วยชีวิตผู้ป่วยด้วยวิธี CPR

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจเเละเฝ้าระวังและควบคุมโรคมือ เท้า ปาก โรคไข้เลือดออก โรคไอกรน โรคRSV โรคอุจจาระร่วง โรคตาแดง และโรคหัดที่อาจเกิดขึ้นในเด็กเล็ก

  2. ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจและร่วมกันป้องกันเกี่ยวกับโรคมือ เท้า ปาก โรคไข้เลือดออก โรคไอกรน โรคRSV โรคอุจจาระร่วง โรคตาแดง และโรคหัดที่อาจเกิดขึ้นในเด็กเล็กได้อย่างถูกต้อง

  3. ลดอัตราการป่วยด้วยโรคมือ เท้า ปาก โรคไข้เลือดออก โรคไอกรน โรคRSV โรคอุจจาระร่วง โรคตาแดง และโรคหัดที่อาจเกิดขึ้นในเด็กเล็ก

    1. ลดอัตราการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากโรคต่าง ๆ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ให้ความรู้ในการเฝ้าระวังและควบคุมโรคมือ เท้า ปาก โรคไข้เลือดออก โรคไอกรน โรคRSV โรคอุจจาระร่วง โรคตาแดง และโรคหัดที่อาจเกิดขึ้นในเด็กเล็ก
ตัวชี้วัด : 1. ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง และประชาชนทั่วไป มีความรู้ในการเฝ้าระวังและควบคุมโรคมือ เท้า ปาก โรคไข้เลือดออก โรคไอกรน โรคRSV โรคอุจจาระร่วง โรคตาแดง และโรคหัดที่อาจเกิดขึ้นในเด็กเล็ก 2. ลดอัตราการป่วยเเละเสียชีวิตด้วยโรค มือ เท้า ปาก โรคไข้เลือดออก โรคไอกรน โรคRSV โรคอุจจาระร่วง โรคตาแดง โรคหัด โรคไข้หวัดและไข้หวัดใหญ่ ที่เกิดขึ้นในเด็กเล็ก
80.00 80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ให้ความรู้ในการเฝ้าระวังและควบคุมโรคมือ เท้า ปาก โรคไข้เลือดออก โรคไอกรน โรคRSV โรคอุจจาระร่วง โรคตาแดง และโรคหัดที่อาจเกิดขึ้นในเด็กเล็ก

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพองค์ความรู้ด้านการควบคุมและป้องกันโรคติดต่อ (2) กิจกรรมเรื่องการปฐมพยาบาลเบื้องต้น และการช่วยชีวิตผู้ป่วยด้วยวิธี CPR

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลปุโละปุโย ประจำปี 2567 จังหวัด

รหัสโครงการ 67-L3069-10(3)13

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวสุภาภรณ์ รัตนชนะวงษ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด