กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปุโละปุโย


“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เปลี่ยนชีวิตพิชิตโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ตามวิถีชุมชน ปี2567 ”

เขตพื้นที่ตำบลปุโละปุโย

หัวหน้าโครงการ
นางฮานีซะ แวสอเฮาะ

ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เปลี่ยนชีวิตพิชิตโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ตามวิถีชุมชน ปี2567

ที่อยู่ เขตพื้นที่ตำบลปุโละปุโย จังหวัด

รหัสโครงการ 67-L3069-10(1)-06 เลขที่ข้อตกลง 06/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เปลี่ยนชีวิตพิชิตโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ตามวิถีชุมชน ปี2567 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน เขตพื้นที่ตำบลปุโละปุโย

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปุโละปุโย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เปลี่ยนชีวิตพิชิตโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ตามวิถีชุมชน ปี2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เปลี่ยนชีวิตพิชิตโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ตามวิถีชุมชน ปี2567 " ดำเนินการในพื้นที่ เขตพื้นที่ตำบลปุโละปุโย รหัสโครงการ 67-L3069-10(1)-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 35,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปุโละปุโย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

องค์การบริหารส่วนจังหวัดปัตตานี ได้ไห้ความสำคัญกับกระบวนการมีส่วนร่วมของทุกคนทุกภาคส่วนในสังคมในการพัฒนาด้านต่างๆโดยเฉพาะด้านการเสริมสร้างสุขภาวะให้คนปัตตานีมีสุขภาพแข็งแรงทั้งกายและใจสามารถดูแลตนเองได้โดยมุ่งเน้นการวิจัยและพัฒนาทุนสังคม และภูมิปัญญาชุมชน ตลอดจนการมีส่วนร่วมของพื้นที่ในระดับท้องถิ่นและได้กำหนดเกณฑ์ชี้วัดความสำเร็จของการสร้างสุขภาวะให้คนปัตตานีแข็งแรงส่วนหนึ่งนั้นโดยได้กำหนดตัวชี้วัดของโรคไม่ติดต่อได้แก่โรคความดันโลหิตสูงโรคอัมพฤกษ์อัมพาตโรคเบาหวานโรคหลอดเลือดหัวใจโดยกำหนดให้มีกิจกรรมการคัดกรองค้นหาผู้ป่วยในชุมชน และให้มีการลดละกิจกรรมเสี่ยงอันได้แก่ละเลิกการสูบบุหรี่ดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ลดอาหารที่มีรสหวานมันเค็มและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการรับประทานผักผลไม้เพิ่มขึ้นมีการออกกำลังกายเป็นประจำลดภาวะน้ำหนักเกิน การดำเนินงานไห้ประสบความสำเร็จอย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืนนั้นจำเป็นจะต้องอาศัยการมีส่วนร่วมจากทุกภาคทุกส่วนที่เกี่ยวข้อง และการกำหนดยุทธศาสตร์ที่เหมาะสมของพื้นที่
จากการคัดกรองความเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ในปี2566เป้าหมายประชากร 15 ปีขึ้นไป จำนวน 1,661 คน คัดกรองได้ 875 คน คิดเป็นร้อยละ 52.67 แยกเป็น กลุ่มประชากร 35ปีขึ้นไปเป้าหมาย คัดกรองเบาหวาน 939 คน คัดกรองได้867คนคิดเป็นร้อยละ92.33พบกลุ่มเสี่ยงสูงต่อโรคเบาหวาน จำนวน 118 คน คิดเป็นร้อยละ 13.61 กลุ่มสงสัยเป็นโรคเบาหวาน จำนวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 1.37ผู้ป่วยรายใหม่12 คน คิดเป็นร้อยละ 1.37 และคัดกรองความดันโลหิตสูง786 คน คิดเป็นร้อยละ 92.31 พบกลุ่มเสี่ยงสูงต่อความดันโลหิตสูง จำนวน 87 คน คิดเป็นร้อยละ 11.33 กลุ่มสงสัยเป็นโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 24 คน คิดเป็นร้อยละ 3.12 ผู้ป่วยรายใหม่ 24 คน คิดเป็นร้อยละ 3.12 และกลุ่มป่วยเบาหวานควบคุมได้เกณฑ์ ร้อยละ40กลุ่มป่วยความดันโลหิตสูงควบคุมได้ ร้อยละ60 ปี2566 พบว่ากลุ่มป่วยเบาหวาน จำนวน 92 คนสามารถควบคุมได้ 10คนคิดเป็นร้อยละ10.87 กลุ่มป่วยความดันโลหิตสูง 210คนสามาถควบคุมได้97คน คิดเป็นร้อยละ46.19
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านท่ากูโบ มุ่งหวังเพิ่มประสิทธิภาพความครอบคลุมการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง จึงได้จัดทำโครงการปรับพฤติกรรม เปลี่ยนชีวิต พิชิตโรคเบาหวาน/ความโลหิตสูง ตามวิถีชุมชน ปีงบประมาณ2567 ขึ้นโดยให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การสร้างความร่วมมือและพัฒนากิจกรรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดอัตราเพิ่มของผู้ป่วยเบาหวานความดันโลหิตสูง และลดภาวะแทกซ้อนในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
  2. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงที่ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอยู่ในเกณฑ์ปกติและกลุ่มป่วยได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสามารถควบคุมได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ติดตาม และประเมินผลการดำเนินโครงการ
  2. การสร้างแกนนำวิทยากรและการพัฒนาหลักสูตรเพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
  3. จัดซื้อจัดทำป้ายไวนิล วัสดุอุปกรณ์ ตลอดจนจัดเตรียมสถานที่สำหรับจัดกิจกรรม
  4. การดำเนินการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มเสี่ยง และการพัฒนาเครือข่ายกลุ่มเสี่ยง
  5. กิจกรรมติดตามการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเสียง ครั้งที่ 1 เมื่อครบ 1 เดือน
  6. ติดตามการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเสียง ครั้งที่ 2 เมื่อครบกำหนด 4 เดือน( ครั้งที่1 กับครั้งที่ 2ห่างกัน 3เดือน)
  7. จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้และคัดเลือกบุคคลต้นแบบ โดยให้ผู้ที่เป็นบุคคลต้นแบบมาเล่าประสบการณ์ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของตนเองพร้อมมอบเกียรติบัตรแก่ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 20
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมมีผลการตรวจระดับน้ำตาลในเลือด/ระดับความดันโลหิต เปลี่ยนแปลงอยู่ในเกณฑ์ปกติ 2.กลุ่มป่วยที่ไม่มีภาวะแทรกซ้อน สามารถควบคุมโรคได้ ลดอัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อน 3. มีเครือข่าย/แกนนำด้านสุขภาพในชุมชน 4. เกิดนวัตกรรมสุขภาพในชุมชน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
ตัวชี้วัด : กลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมไม่น้อยกว่าร้อยละ 50
13.61 1.00

 

2 ประชาชนกลุ่มเสี่ยงที่ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอยู่ในเกณฑ์ปกติและกลุ่มป่วยได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสามารถควบคุมได้
ตัวชี้วัด : ประชาชนกลุ่มเสี่ยง/กลุ่มป่วยที่ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม มีผลการตรวจระดับน้ำตาลในเลือด/ระดับความดันโลหิต เปลี่ยนแปลงอยู่ในเกณฑ์ปกติและควบคุมได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50
46.19 1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 70
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 20
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (2) ประชาชนกลุ่มเสี่ยงที่ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอยู่ในเกณฑ์ปกติและกลุ่มป่วยได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสามารถควบคุมได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ติดตาม และประเมินผลการดำเนินโครงการ (2) การสร้างแกนนำวิทยากรและการพัฒนาหลักสูตรเพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (3) จัดซื้อจัดทำป้ายไวนิล วัสดุอุปกรณ์ ตลอดจนจัดเตรียมสถานที่สำหรับจัดกิจกรรม (4) การดำเนินการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มเสี่ยง และการพัฒนาเครือข่ายกลุ่มเสี่ยง (5) กิจกรรมติดตามการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเสียง ครั้งที่ 1 เมื่อครบ 1 เดือน (6) ติดตามการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเสียง ครั้งที่ 2 เมื่อครบกำหนด 4 เดือน( ครั้งที่1 กับครั้งที่ 2ห่างกัน 3เดือน) (7) จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้และคัดเลือกบุคคลต้นแบบ โดยให้ผู้ที่เป็นบุคคลต้นแบบมาเล่าประสบการณ์ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของตนเองพร้อมมอบเกียรติบัตรแก่ผู้เข้าร่วมโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เปลี่ยนชีวิตพิชิตโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ตามวิถีชุมชน ปี2567 จังหวัด

รหัสโครงการ 67-L3069-10(1)-06

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางฮานีซะ แวสอเฮาะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด