กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการสุขภาพจิตพิชิตสุขภาพใจ ลดช่องว่างระหว่างวัย เพิ่มความเข้าใจในครอบครัว ประจำปีงบประมาณ 2567 ”
พื้นที่ ตำบลบางเขา อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี



หัวหน้าโครงการ
นางอุบล วัฒนศักดิ์ภูบาล




ชื่อโครงการ โครงการสุขภาพจิตพิชิตสุขภาพใจ ลดช่องว่างระหว่างวัย เพิ่มความเข้าใจในครอบครัว ประจำปีงบประมาณ 2567

ที่อยู่ พื้นที่ ตำบลบางเขา อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 67-L3067-01-04 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 17 มกราคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสุขภาพจิตพิชิตสุขภาพใจ ลดช่องว่างระหว่างวัย เพิ่มความเข้าใจในครอบครัว ประจำปีงบประมาณ 2567 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน พื้นที่ ตำบลบางเขา อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางเขา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสุขภาพจิตพิชิตสุขภาพใจ ลดช่องว่างระหว่างวัย เพิ่มความเข้าใจในครอบครัว ประจำปีงบประมาณ 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสุขภาพจิตพิชิตสุขภาพใจ ลดช่องว่างระหว่างวัย เพิ่มความเข้าใจในครอบครัว ประจำปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ พื้นที่ ตำบลบางเขา อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 67-L3067-01-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 17 มกราคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 29,430.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางเขา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สุขภาพจิตเป็นการที่บุคคลรับรู้คุณค่าในตนเอง สามารถจัดการควบคุมตนเองได้อย่างเหมาะสม ปราศจากความกังวลไม่สมเหตุสมผล และสามารถเผชิญปัญหาหรือความเครียดได้อย่างเหมาะสม นอกจากนี้ในด้านสังคม สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้ ยอมรับและพึงพอใจในการใช้ชีวิตของตนเอง ซึ่งปัจจัยที่มีผลต่อสุขภาพจิตของบุคคลสามารถแบ่งเป็นปัจจัยภายใน เช่นลักษณะนิสัย บุคลิกภาพ การจัดการปัญหา เป็นต้น ส่วนปัจจัยภายนอกและสภาพแวดล้อม เช่น ปัญหาสัมพันธภาพในครอบครัว เศรษฐกิจ ภาระหนี้สิน ปัญหาการเมือง การไม่มีที่อยู่อาศัย ปัญหาอาชญากรรมและสารเสพติด เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีกลุ่มเสี่ยงที่มีแนวโน้มที่จะเกิดปัญหาสุขภาพจิตที่พบได้บ่อย ได้แก่ ผู้ป่วยเรื้อรัง ผู้พิการ เป็นต้น เนื่องจากข้อจำกัดในการดำรงชีวิตเพิ่มมากขึ้นกว่าบุคคลทั่วไป จึงทำให้เกิดความเครียดหรือปัญหาสุขภาพจิตอื่นได้ง่ายกว่าบุคคลทั่วไป
            ในพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลบางเขา พบว่าหลายๆครอบครัวผู้สูงอายุ เด็กเล็กมักถูกทอดทิ้งโดยมีสาเหตุจากการที่บุตรหลานไปทำงานต่างถิ่นในประเทศมาเลเซียหรือต่างจังหวัด บางครอบครัวมีการสูญเสียบุตรหลาน ผู้นำครอบครัวจากเหตุการณ์ความไม่สงบในพื้นที่ ผู้สูงอายุถูกลดคุณค่าและบทบาทในการดำเนินชีวิตส่งผลให้เกิดความเครียดและอาจนำไปสู่ปัญหาสุขภาพได้ จากสภาพปัญหาดังกล่าวการแก้ไขปัญหาในเบื้องต้นควรเริ่มจากสถาบันครอบครัวที่จะแก้ปัญหาการลดช่องว่างระหว่างวัยซึ่งนับเป็นปัญหาหลักที่เกี่ยวข้องต่อการดูแลทางด้านจิตใจ เช่น การเอาใจใส่พูดคุยอย่างสม่ำเสมอ การให้ความรักความเคารพ การยกย่องยอมรับนับถือ การพาผู้สงอายุ ไปท่องเที่ยวตามโอกาสและสถานที่ที่เหมาะสม การแสดงให้เห็นความสำคัญตามวันสำคัญต่าง ๆ การดูแลด้านสังคม เช่น การแสดงความยินดีที่จะพาผู้สูงอายุไปร่วมกิจกรรมทางสังคมที่เหมาะสม ตามที่ผู้สูงอายุต้องการ เป็นต้น การดูแลด้านเศรษฐกิจ โดยการดูแลเอาใจใส่ช่วยเหลือในด้านการเงินอย่างเพียงพอและสม่ำเสมอ และไม่ควรเบียดเบียนด้านการเงินของผู้สูงอายุ นอกจากนี้ ครอบครัวควรให้ความสำคัญ และความสนใจในนำเทคโนโลยีสื่อสารสมัยใหม่มาใช้กับผู้สูงอายุ อย่างเหมาะสม เพื่อลดปัญหาช่องว่างระหว่างวัย ใช้เป็นเครื่องมือในการสื่อสารกับสมาชิกในครอบครัว ช่วยให้ ผู้สูงอายุอยู่ในสังคมและครอบครัวได้อย่างมีศักดิ์ศรี และมีคุณค่าในตนเอง รวมถึงการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้ประสบการณ์แปลกใหม่ ค้นหาข้อมูลต่าง ๆ ในการดูแลสุขภาพ ในการส่งเสริมคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้เห็นถึงสาเหตุของปัญหาสุขภาพในแต่ละวัน ปัญหาสุขภาพจิต ในครอบครัว และภาวะเครียด สามารถแก้ปัญหาได้อย่างถูกวิธี
  2. เพื่อส่งเสริมให้คนในครอบครัวมีเวลาให้กันและกันเข้าใจกันเพื่อสร้างความเป็นอยู่ที่ดีสำหรับคนทุกวัย
  3. เพื่อเป็นการลดช่องว่างของคน สามวัย ที่มีความคิดต่างกันให้มองถึงความห่วงใยซึ่งกันและกันในทางบวก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมเตรียมความพร้อมคณะทำงาน
  2. สำรวจและเยี่ยมเยียน
  3. อบรมให้ความรู้
  4. เยี่ยมเยียนกลุ่มเปราะบาง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 30
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ลดอัตราการเกิดปัญหาสุขภาพจิตหรือการเจ็บป่วยทางจิตในพื้นที่
  2. ประชาชนสามารถจัดการปัญหาเกี่ยวกับสุขภาพทางจิต สุขภาพทางกาย สุขภาพทางใจ ที่ก่อให้เกิดโรคเครียด โรคซึมเศร้า ฯลฯ ได้อย่างถูกวิธี
  3. สร้างขวัญและกำลังใจให้แก่กลุ่มเปราะบาง ผู้ป่วยเรื้อรัง ผู้พิการ และผู้ยากไร้

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมเตรียมความพร้อมคณะทำงาน

วันที่ 23 เมษายน 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมเตรียมความพร้อมคณะกรรมการช่วยเหลือเพื่อสำรวจกลุ่มเปราะบาง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีความพร้อมในการลงสำรวจเพื่อช่วยเหลือกลุ่มเปราะบางต่อไป

 

20 0

2. สำรวจและเยี่ยมเยียน

วันที่ 1 พฤษภาคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ลงพื้นที่สำรวจกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ตำบลบางเขา เพื่อรวบรวมข้อมูลเสนอต่อคณะกรรมการช่วยเหลือประชาชนองค์การบริหารส่วนตำบลบางเขา เพื่อพิจารณาให้ความช่วยเหลือตามความจำเป็นและเหมาะสม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้มีข้อมูลในการช่วยเหลือกลุ่มเปราะบาง กลุ่มฐานะยากจน กลุ่มผู้ป่วยเรื้อรังที่มีการจัดลำดับตามความเป็นจริง

 

0 0

3. อบรมให้ความรู้

วันที่ 3 กันยายน 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดอบรมให้ความรู้แก่ประชาชนทุกช่วงวัยเกี่ยวกับการสร้างความรักความผูกพันในครอบครัว การดูแลสุขภาพ ตลอดจนวิธีการเข้าถึงสิทธิและสวัสดิการของรัฐ เป็นต้น ได้แก่วัยรุ่น วัยทำงาน ผู้สูงอายุวัย และผู้ดูแลผู้พิการ ผู้ป่วยเรื้อรัง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชาชนสามารถจัดการปัญหาเกี่ยวกับสุขภาพทางจิต สุขภาพทางกาย สุขภาพทางใจ ที่ก่อให้เกิดโรคเครียด โรคซึมเศร้า ฯลฯ ได้อย่างถูกวิธี

 

55 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้เห็นถึงสาเหตุของปัญหาสุขภาพในแต่ละวัน ปัญหาสุขภาพจิต ในครอบครัว และภาวะเครียด สามารถแก้ปัญหาได้อย่างถูกวิธี
ตัวชี้วัด :
60.00 80.00

 

2 เพื่อส่งเสริมให้คนในครอบครัวมีเวลาให้กันและกันเข้าใจกันเพื่อสร้างความเป็นอยู่ที่ดีสำหรับคนทุกวัย
ตัวชี้วัด :
60.00 80.00

 

3 เพื่อเป็นการลดช่องว่างของคน สามวัย ที่มีความคิดต่างกันให้มองถึงความห่วงใยซึ่งกันและกันในทางบวก
ตัวชี้วัด :
60.00 80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 30
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้เห็นถึงสาเหตุของปัญหาสุขภาพในแต่ละวัน ปัญหาสุขภาพจิต ในครอบครัว และภาวะเครียด สามารถแก้ปัญหาได้อย่างถูกวิธี (2) เพื่อส่งเสริมให้คนในครอบครัวมีเวลาให้กันและกันเข้าใจกันเพื่อสร้างความเป็นอยู่ที่ดีสำหรับคนทุกวัย (3) เพื่อเป็นการลดช่องว่างของคน สามวัย ที่มีความคิดต่างกันให้มองถึงความห่วงใยซึ่งกันและกันในทางบวก

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมเตรียมความพร้อมคณะทำงาน (2) สำรวจและเยี่ยมเยียน (3) อบรมให้ความรู้ (4) เยี่ยมเยียนกลุ่มเปราะบาง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการสุขภาพจิตพิชิตสุขภาพใจ ลดช่องว่างระหว่างวัย เพิ่มความเข้าใจในครอบครัว ประจำปีงบประมาณ 2567 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 67-L3067-01-04

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางอุบล วัฒนศักดิ์ภูบาล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด