กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เมาะมาวี


“ โครงการลดโรคเบาหวานพิชิตความอ้วน ตามวิถีชุมชน เทิดพระเกิยรติ 72 พรรษา ประจำปี 2567 ”

ตำบลเมาะมาวี อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นายมูฮำหมัดเฟาซี ลาเต๊ะ

ชื่อโครงการ โครงการลดโรคเบาหวานพิชิตความอ้วน ตามวิถีชุมชน เทิดพระเกิยรติ 72 พรรษา ประจำปี 2567

ที่อยู่ ตำบลเมาะมาวี อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 67-L3031-1-003 เลขที่ข้อตกลง 013

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการลดโรคเบาหวานพิชิตความอ้วน ตามวิถีชุมชน เทิดพระเกิยรติ 72 พรรษา ประจำปี 2567 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเมาะมาวี อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เมาะมาวี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการลดโรคเบาหวานพิชิตความอ้วน ตามวิถีชุมชน เทิดพระเกิยรติ 72 พรรษา ประจำปี 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการลดโรคเบาหวานพิชิตความอ้วน ตามวิถีชุมชน เทิดพระเกิยรติ 72 พรรษา ประจำปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเมาะมาวี อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 67-L3031-1-003 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 23,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เมาะมาวี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคเบาหวาน เป็นโรคเรื้อรังที่เป็นปัญหาสำคัญด้านสาธารณสุขของทุกประเทศ และมีแนวโน้ม เพิ่มมากขึ้นทุกปี สมาพันธ์เบาหวานระหว่างประเทศ(International Diabetes Federation: IDF) คาดการว่าในปี พ.ศ. 2568 ทั่วโลกจะมีอัตราความชุกของโรคเบาหวานชนิดที่ 1 ในเด็กอายุไม่เกิน 14 ปี 6.85 ต่อประชากรแสนคนและในผู้ใหญ่ (อายุ 20-79 ปี) 5,684.93 ต่อประชากรแสนคน ซึ่งในกลุ่มนี้ประมาณร้อยละ 2.23 ไม่ได้รับการตรวจวินิจฉัยและอัตราตรวจพบประชาชนกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานในผู้ใหญ่ 4,356.16ต่อจำนวนประชากรแสนคน ซึ่งในกลุ่มนี้จะกลายเป็นโรคเบาหวานในโอกาสต่อไป เมื่อถึงสิ้นปี พ.ศ.2569 จะมีอัตราผู้เสียชีวิตจากโรคเบาหวานสูงถึง 68.49 ต่อประชากรแสนคน หรือร้อยละ 1.20 และมีค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษาอยู่ระหว่าง 23.94-42.59 ล้านล้านบาทหรือคิดเป็นร้อยละ 5-20 ของค่าใช้จ่ายต่อสุขภาพโดยรวม และ หากไม่ได้รับการแก้ไขคาดว่าจะมีอัตราผู้ป่วยด้วยโรคเบาหวานทั่วโลกในปีพ.ศ.2583ทำให้แนวโน้มของอัตราผู้ป่วยด้วยโรคเรื้อรังเพิ่มสูงขึ้นโดยเฉพาะโรคเบาหวานที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลของรัฐเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ปัจจุบันโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเมาะมาวี มีอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านที่รับผิดชอบทั้งสิ้น 84 คน ซึ่งเป็นบุคคลต้นแบบในการทำงานด้านสุขภาพในชุมชนเพื่อขับเคลื่อนโยบายตำบลจัดการสุขภาพและหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ จากผลการคัดกรองสุขภาพในปี พ.ศ.2566 พบว่ามีกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน เจาะปลายนิ้วมีน้ำตาลในเลือดสูง จำนวน 28 คน คิดเป็นร้อยละ 33.33 ตรวจร่างกายพบว่า มีรอบเอวและ BMI เกินเกณฑ์ จำนวน 60 คน หรือคิดเป็นร้อยละ 70.5
จากข้อมูลข้างต้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเมาะมาวี ได้เล็งเห็นความสำคัญของปัญหาโรคเบาหวานและโรคอ้วน ในอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านและประชาชนกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน ซึ่งหากไม่ได้รับการแก้ไขแล้ว จะเกิดปัญหาสุขภาพ มีอัตราการป่วยด้วยโรคเบาหวาน และมีภาวะน้ำหนักเกินหรือโรคอ้วนเพิ่มสูงขึ้น รวมถึงภาวะแทรกซ้อนอื่นๆ จากผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เช่น โรคหลอดเลือดหัวใจ โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน ภาวะไขมันเลือดสูง โรคมะเร็ง และโรคหลอดเลือดสมอง ซึ่งจะส่งผลต่อคุณภาพชีวิตและความสูญเสียทางเศรษฐกิจภายใจครอบครัว เนื่องจากค่าใช้จ่ายในการรักษาสุขภาพที่มีจำนวนเงินเพิ่มสูงขึ้นอีกด้วย แต่หากสามารถแก้ปัญหา โดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ในกลุ่มเสี่ยงเบาหวานและกลุ่มปัญหาภาวะน้ำหนักเกินได้ ก็จะทำให้ลดอัตราการป่วยด้วยโรคเบาหวานและโรคเรื้อรังอื่นๆตามมา ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเมาะมาวี จึงได้จัดทำโครงการลดโรคเบาหวาน พิชิตความอ้วน ตามวิธีชุมชน ปีงบประมาณ 2567 ขึ้นเพื่อแก้ปัญหาดังกล่าว

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ควบคุมน้ำตาลในเลือดให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ (DTXZ100 mg%
  2. เพื่อให้กลุ่มที่มีน้ำหนักเกิน (BMI) สามารถลดน้ำหนักให้อยู่ในเกณฑ์ปกติเกิน (วัดรอบเอวชายไม่เกิน 90 และผู้หญิง เอวเกิน 80 cm)

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมเตรียมความพร้อม
  2. กิจกรรมจัดอบรมกลุ่มเสี่ยงเบาหวานและกลุ่มที่มีน้ำหนัก เกินหรือ BMI เกิน
  3. กิจกรรมติดตามตรวจน้ำตาลในเลือด/ชั่งน้ำหนักของผู้เข้าร่วมโครงการ ในเดือนที่ 2
  4. กิจกรรมติดตามตรวจน้ำตาลในเลือด/ชั่งน้ำหนักของผู้เข้าร่วมโครงการ ในเดือนที่ 3
  5. กิจกรรมติดตามประเมินผล

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ควบคุมน้ำตาลในเลือดให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ (DTXZ100 mg%
  2. กลุ่มที่มีน้ำหนักเกิน (BMI) สามารถลดน้ำหนักให้อยู่ในเกณฑ์ปกติเกิน (วัดรอบเอวชายไม่เกิน 90 และผู้หญิง เอวเกิน 80 cm)

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ควบคุมน้ำตาลในเลือดให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ (DTXZ100 mg%
ตัวชี้วัด : อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน และประชาชนกลุ่มเสี่ยงที่มีผลการตรวจน้ำตาลในเลือดสูง (DTX ≥ 100 mg% ) สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมควบคุมลดระดับน้ำตาลในเลือด อยู่ในระดับปกติ(DTX ≤ 100 mg% ) อย่างน้อยร้อยละ 50
0.00 0.00

 

2 เพื่อให้กลุ่มที่มีน้ำหนักเกิน (BMI) สามารถลดน้ำหนักให้อยู่ในเกณฑ์ปกติเกิน (วัดรอบเอวชายไม่เกิน 90 และผู้หญิง เอวเกิน 80 cm)
ตัวชี้วัด : อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน เจ้าหน้าที่ และประชาชนที่มีภาวะน้ำหนักเกินเกณฑ์มีค่า BMI หรือน้ำหนักตัวลดลงจากเดิม 2 เปอร์เซ็น
0.00 0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 0
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ควบคุมน้ำตาลในเลือดให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ (DTXZ100 mg% (2) เพื่อให้กลุ่มที่มีน้ำหนักเกิน (BMI) สามารถลดน้ำหนักให้อยู่ในเกณฑ์ปกติเกิน (วัดรอบเอวชายไม่เกิน 90 และผู้หญิง เอวเกิน 80 cm)

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมเตรียมความพร้อม (2) กิจกรรมจัดอบรมกลุ่มเสี่ยงเบาหวานและกลุ่มที่มีน้ำหนัก เกินหรือ BMI เกิน (3) กิจกรรมติดตามตรวจน้ำตาลในเลือด/ชั่งน้ำหนักของผู้เข้าร่วมโครงการ ในเดือนที่ 2 (4) กิจกรรมติดตามตรวจน้ำตาลในเลือด/ชั่งน้ำหนักของผู้เข้าร่วมโครงการ ในเดือนที่ 3 (5) กิจกรรมติดตามประเมินผล

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการลดโรคเบาหวานพิชิตความอ้วน ตามวิถีชุมชน เทิดพระเกิยรติ 72 พรรษา ประจำปี 2567 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 67-L3031-1-003

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายมูฮำหมัดเฟาซี ลาเต๊ะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด