กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปูโยะ


“ โครงการแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการในเด็กอายุ 0-72 เดือน ประจำปี 2561 ”

ตำบลปูโยะ อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางสาวลลิศรา พฤติพัฒนพงศ์

ชื่อโครงการ โครงการแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการในเด็กอายุ 0-72 เดือน ประจำปี 2561

ที่อยู่ ตำบลปูโยะ อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-L2536-1-03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการในเด็กอายุ 0-72 เดือน ประจำปี 2561 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปูโยะ อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปูโยะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการในเด็กอายุ 0-72 เดือน ประจำปี 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการในเด็กอายุ 0-72 เดือน ประจำปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปูโยะ อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 61-L2536-1-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2560 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 37,350.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปูโยะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนเป็นเป้าหมายสำคัญของการพัฒนาประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งกระทรวงสาธารณสุขได้กำหนดแนวทางการดำเนินงานเพื่อให้ประชาชนมีสุขภาวะ (well-being) ทั้งมิติทางกาย ใจ สังคม และปัญญา (จิตวิญญาณ) และมิติของคน ครอบครัว ชุมชน และสังคมมากขึ้น โดยเริ่มจากวัยต้นของชีวิต คือ เด็กปฐมวัยซึ่งเป็นวัยที่มีความสำคัญ เนื่องจากเป็นวัยที่มีการพัฒนาอย่างรวดเร็วทั้งทางด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ สังคม และเป็นวัยที่เริ่มต้นการรับรู้และรับรู้ เพื่อเป็นพื้นฐานของช่วงวัยต่อไป

ปัญหาในการดำเนินส่งเสริมสุขภาพเด็กปฐมวัย พบว่า เด็กยังประสบปัญหาภาวะทุพโภชนาการเป็นจำนวนมาก จากรายงานการเฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการเด็ก 0-72 เดือน ปี พ.ศ. 2558 - 2560 พบว่า เด็กมีปัญหาภาวะทุพโภชนาการร้อยละ4.54, 3.57 และ 5.92 ตามลำดับ อย่างไรก็ตามแม้จากรายงานขนาดของปัญหาจะลดลง แต่ก็ยังสูงกว่าค่าเฉลี่ยระดับประเทศระดับภาคและเป้าหมายแผนสาธารณสุขฉบับที่ 10ที่กำหนดไว้ว่าภาวะทุพโภชนาการในเด็กอายุ 0-72 เดือน ไม่เกินร้อยละ 7ซึ่งพัฒนาการทางด้านร่างกายนี้อาจส่งผลต่อพัฒนาการทางด้านสติปัญญา อารมณ์ จิตใจ และสังคมของเด็กตามมาจำเป็นต้องมีการส่งเสริมและพัฒนาเด็กให้มีพัฒนาการที่สมวัยในทุกด้านของชีวิตการแก้ไขปัญหาโดยการมีมุมส่งเสริมโภชนาการและพัฒนาการเด็กในสถานพยาบาลและการดำเนินงานแก้ไขปัญหาและส่งเสริมพัฒนาการเด็กโดยเจ้าหน้าที่เพียงฝ่ายเดียวไม่สามารถแก้ปัญหาให้ลดน้อยหรือหมดไปได้สิ่งสำคัญจะต้องมีการให้ความรู้แก่พ่อแม่ ผู้เลี้ยงดูเด็กและส่งเสริมให้ครอบครัวและชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการส่งเสริมพัฒนาการของเด็ก จากสภาพปัญหาดังกล่าว โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปูโยะ จึงได้จัดทำโครงการแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการและส่งเสริมสุขภาพในเด็ก 0-72 เดือน ขึ้นเพื่อสร้างความตระหนักให้ครอบครัวและชุมชน ได้มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาและพัฒนางานด้านสาธารณสุขอย่างต่อเนื่อง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจให้แก่ผู้ปกครองเด็กอายุ 0 - 72 เดือน
  2. เพื่อให้เด็กอายุ 0 - 72 เดือน ได้รับการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ
  3. เพื่อให้เด็กอายุ ๐ - ๗๒ เดือน มีน้ำหนักต่ออายุร้อยละ 78

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 70
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. เด็ก 0-72 เดือนได้รับการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ ได้ตามเป้าหมาย
    2. ปัญหาภาวะทุพโภชนาการในเด็ก 0-72 เดือน ลดลง
    3. ผู้ปกครองเด็กมีความรู้ในการดูแลเด็กด้านโภชนาการและการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครองเด็กอายุ 0-72 เดือน

    วันที่ 30 มกราคม 2561

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ขั้นเตรียมการ
    2. เขียนโครงการเพื่อขออนุมัติ 2.ประสานงานกับอาสาสมัครสาธารณสุข
    3. เสนอโครงการเพื่ออนุมัติ 4.ประชาสัมพันธ์โครงการให้กลุ่มเป้าหมายทราบ
    4. ขั้นดำเนินการ
    5. ประชุมชี้แจงอาสาสมัครสาธารณสุขเกี่ยวกับรายละเอียดโครงการ
    6. รณรงค์การชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง และประเมินพัฒนาการในเด็กกลุ่มอายุ 0 - 72เดือน ทุกหมู่บ้าน จำนวน 6 หมู่บ้านจัดเก็บแบบสอบถามฐานข้อมูลเด็กและวิเคราะห์หาสาเหตุ
    7. จัดเก็บแบบสอบถามฐานข้อมูลเด็กและวิเคราะห์หาสาเหตุ
    8. กิจกรรมจัดอบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครองเด็กอายุ 0 - 72 เดือน จำนวน 70 คน 5.มีการติดตามเยี่ยมบ้าน ให้ความรู้แก่ผู้ปกครองรายบุคคลและชั่งน้ำหนักเด็กอายุ 0 – 72 เดือนที่มีน้ำหนักต่ออายุน้อยกว่าเกณฑ์ทุกคน เดือนละ 1 ครั้ง พร้อมบันทึกผลการชั่งน้ำหนัก ทุก 1 เดือน เพื่อประเมินความก้าวหน้าของภาวะทุพโภชนาการและจ่ายอาหารเสริมแก่เด็ก
    9. เด็กที่มีน้ำหนักต่ออายุน้อยกว่าเกณฑ์ทุกคนจะต้องได้รับวิตามินเสริมธาตุเหล็กรับประทานวันละ 1 ช้อนชา 7.จ่ายยาถ่ายพยาธิแก่เด็กที่มีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ อายุ 24 - 72 เดือน ทุกคน
    10. ขั้นประเมินผล
    11. ติดตามภาวะโภชนาการในเด็กน้ำหนักตามเกณฑ์ทุกๆ 3 เดือน ในเด็กที่ภาวะโภชนาการน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์และอ้วนเกินเกณฑ์ทุก ๆ 1 เดือน 2.ประเมินผลโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ๑. จากการทำแบบทดสอบก่อนและหลังเข้ารับการอบรม โครงการ”แก้ไข้ปัญหาภาวะทุพโภชนาการในเด็กอายุ ๐ – ๗๒” ปรากฏว่าผู้ปกครองมีความรู้เพิ่มขึ้น

    แบบทดสอบ จำนวน ๑๐ ข้อ จำนวน ผู้ปกครอง. (คน) < ๖ คะแนน (ไม่ผ่าน) ๖ คะแนนขึ้นไป (ผ่าน) (คน) (ร้อยละ) (คน) (ร้อยละ) ก่อนอบรม 7๐ 58 82.85 12 17.14 หลังอบรม 7๐ 17 24.28 53 75.71 2. จำนวนเด็กอายุ ๐ – ๗๒ เดือน ในเขตรับผิดชอบทั้ง จำนวน ๒76 คน ได้รับการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ จำนวน ๒71 คน คิดเป็นร้อยละ 98.18 3. จากเดิมปี ๒๕60 มีเด็กอายุ ๐ – ๗๒ เดือน ที่มีภาวะทุพโภชนาการ น.น /อายุ จำนวน ๑1 คน  คิดเป็นร้อยละ 3.91  ซึ่งหลังจากทำโครงการ “แก้ไข้ปัญหาภาวะทุพโภชนาการในเด็กอายุ ๐ – ๗๒ เดือน” ในปี ๒๕๖1 เด็กอายุ ๐ – ๗๒ เดือน ที่มีภาวะทุพโภชนาการ น.น /อายุ จำนวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 3.69 พบว่าลดลงคิดเป็นร้อยละ 0.22

     

    70 0

    2. กิจกรรมรณรงค์ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง และประเมินพัฒนาการเด็กเชิงรุก

    วันที่ 30 มกราคม 2561

    กิจกรรมที่ทำ

    ขั้นดำเนินการ
    1. ประชุมชี้แจงอาสาสมัครสาธารณสุขเกี่ยวกับรายละเอียดโครงการ 2. รณรงค์การชั่งน้ำหนัก  วัดส่วนสูง  และประเมินพัฒนาการในเด็กกลุ่มอายุ 0 - 72เดือน ทุกหมู่บ้าน  จำนวน 6 หมู่บ้านจัดเก็บแบบสอบถามฐานข้อมูลเด็กและวิเคราะห์หาสาเหตุ 3. จัดเก็บแบบสอบถามฐานข้อมูลเด็กและวิเคราะห์หาสาเหตุ 4. กิจกรรมจัดอบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครองเด็กอายุ 0 - 72 เดือน จำนวน 70 คน 5.มีการติดตามเยี่ยมบ้าน ให้ความรู้แก่ผู้ปกครองรายบุคคลและชั่งน้ำหนักเด็กอายุ 0 – 72 เดือนที่มีน้ำหนักต่ออายุน้อยกว่าเกณฑ์ทุกคน เดือนละ 1 ครั้ง พร้อมบันทึกผลการชั่งน้ำหนัก  ทุก  1 เดือน เพื่อประเมินความก้าวหน้าของภาวะทุพโภชนาการและจ่ายอาหารเสริมแก่เด็ก 6. เด็กที่มีน้ำหนักต่ออายุน้อยกว่าเกณฑ์ทุกคนจะต้องได้รับวิตามินเสริมธาตุเหล็กรับประทานวันละ 1 ช้อนชา 7.จ่ายยาถ่ายพยาธิแก่เด็กที่มีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์  อายุ 24 - 72  เดือน ทุกคน ขั้นประเมินผล 1. ติดตามภาวะโภชนาการในเด็กน้ำหนักตามเกณฑ์ทุกๆ  3  เดือน  ในเด็กที่ภาวะโภชนาการน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์และอ้วนเกินเกณฑ์ทุก ๆ 1  เดือน 2.ประเมินผลโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จากเดิมปี ๒๕60 มีเด็กอายุ ๐ – ๗๒  เดือน  ที่มีภาวะทุพโภชนาการ น.น /อายุ จำนวน  ๑1  คน  คิดเป็นร้อยละ 3.91  ซึ่งหลังจากทำโครงการ “แก้ไข้ปัญหาภาวะทุพโภชนาการในเด็กอายุ ๐ – ๗๒  เดือน” ในปี ๒๕๖1  เด็กอายุ ๐ – ๗๒  เดือน  ที่มีภาวะทุพโภชนาการ น.น /อายุ จำนวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 3.69  พบว่าลดลงคิดเป็นร้อยละ 0.22

     

    70 0

    3. กิจกรรมจัดหาอาหารที่มีประโยชน์ต่อเด็กน้ำหนักค่อนข้างน้อยและน้อยกว่าเกณฑ์ตามหลักโภชนาการ

    วันที่ 30 มกราคม 2561

    กิจกรรมที่ทำ

    ขั้นดำเนินการ
    1. ประชุมชี้แจงอาสาสมัครสาธารณสุขเกี่ยวกับรายละเอียดโครงการ 2. รณรงค์การชั่งน้ำหนัก  วัดส่วนสูง  และประเมินพัฒนาการในเด็กกลุ่มอายุ 0 - 72เดือน ทุกหมู่บ้าน  จำนวน 6 หมู่บ้านจัดเก็บแบบสอบถามฐานข้อมูลเด็กและวิเคราะห์หาสาเหตุ 3. จัดเก็บแบบสอบถามฐานข้อมูลเด็กและวิเคราะห์หาสาเหตุ 4. กิจกรรมจัดอบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครองเด็กอายุ 0 - 72 เดือน จำนวน 70 คน 5.มีการติดตามเยี่ยมบ้าน ให้ความรู้แก่ผู้ปกครองรายบุคคลและชั่งน้ำหนักเด็กอายุ 0 – 72 เดือนที่มีน้ำหนักต่ออายุน้อยกว่าเกณฑ์ทุกคน เดือนละ 1 ครั้ง พร้อมบันทึกผลการชั่งน้ำหนัก  ทุก  1 เดือน เพื่อประเมินความก้าวหน้าของภาวะทุพโภชนาการและจ่ายอาหารเสริมแก่เด็ก 6. เด็กที่มีน้ำหนักต่ออายุน้อยกว่าเกณฑ์ทุกคนจะต้องได้รับวิตามินเสริมธาตุเหล็กรับประทานวันละ 1 ช้อนชา 7.จ่ายยาถ่ายพยาธิแก่เด็กที่มีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์  อายุ 24 - 72  เดือน ทุกคน ขั้นประเมินผล 1. ติดตามภาวะโภชนาการในเด็กน้ำหนักตามเกณฑ์ทุกๆ  3  เดือน  ในเด็กที่ภาวะโภชนาการน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์และอ้วนเกินเกณฑ์ทุก ๆ 1  เดือน 2.ประเมินผลโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. จำนวนเด็กอายุ ๐ – ๗๒  เดือน ในเขตรับผิดชอบทั้ง จำนวน ๒76 คน ได้รับการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ จำนวน  ๒71  คน  คิดเป็นร้อยละ  98.18
    2. จากเดิมปี ๒๕60 มีเด็กอายุ ๐ – ๗๒  เดือน  ที่มีภาวะทุพโภชนาการ น.น /อายุ จำนวน  ๑1  คน  คิดเป็นร้อยละ 3.91  ซึ่งหลังจากทำโครงการ “แก้ไข้ปัญหาภาวะทุพโภชนาการในเด็กอายุ ๐ – ๗๒  เดือน” ในปี ๒๕๖1  เด็กอายุ ๐ – ๗๒  เดือน  ที่มีภาวะทุพโภชนาการ น.น /อายุ จำนวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 3.69  พบว่าลดลงคิดเป็นร้อยละ 0.22

     

    25 0

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    ๑. จากการทำแบบทดสอบก่อนและหลังเข้ารับการอบรม โครงการ”แก้ไข้ปัญหาภาวะทุพโภชนาการในเด็กอายุ ๐ – ๗๒” ปรากฏว่าผู้ปกครองมีความรู้เพิ่มขึ้น

    แบบทดสอบ จำนวน ๑๐ ข้อ จำนวน ผู้ปกครอง. (คน) < ๖ คะแนน (ไม่ผ่าน) ๖ คะแนนขึ้นไป (ผ่าน) (คน) (ร้อยละ) (คน) (ร้อยละ) ก่อนอบรม 7๐ 58 82.85 12 17.14 หลังอบรม 7๐ 17 24.28 53 75.71 2. จำนวนเด็กอายุ ๐ – ๗๒ เดือน ในเขตรับผิดชอบทั้ง จำนวน ๒76 คน ได้รับการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ จำนวน ๒71 คน คิดเป็นร้อยละ 98.18 3. จากเดิมปี ๒๕60 มีเด็กอายุ ๐ – ๗๒ เดือน ที่มีภาวะทุพโภชนาการ น.น /อายุ จำนวน ๑1 คน  คิดเป็นร้อยละ 3.91  ซึ่งหลังจากทำโครงการ “แก้ไข้ปัญหาภาวะทุพโภชนาการในเด็กอายุ ๐ – ๗๒ เดือน” ในปี ๒๕๖1 เด็กอายุ ๐ – ๗๒ เดือน ที่มีภาวะทุพโภชนาการ น.น /อายุ จำนวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 3.69 พบว่าลดลงคิดเป็นร้อยละ 0.22

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจให้แก่ผู้ปกครองเด็กอายุ 0 - 72 เดือน
    ตัวชี้วัด : ร้อยละความรู้ความเข้าใจให้แก่ผู้ปกครองเด็กอายุ 0 - 72 เดือน

     

    2 เพื่อให้เด็กอายุ 0 - 72 เดือน ได้รับการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ
    ตัวชี้วัด : ร้อยละเด็กอายุ 0 - 72 เดือน ได้รับการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ

     

    3 เพื่อให้เด็กอายุ ๐ - ๗๒ เดือน มีน้ำหนักต่ออายุร้อยละ 78
    ตัวชี้วัด : ร้อยละเด็กอายุ ๐ - ๗๒ เดือน มีน้ำหนักต่ออายุร้อยละ 78

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 70
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 70
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจให้แก่ผู้ปกครองเด็กอายุ 0 - 72 เดือน (2) เพื่อให้เด็กอายุ 0 - 72 เดือน ได้รับการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ (3) เพื่อให้เด็กอายุ ๐ - ๗๒ เดือน มีน้ำหนักต่ออายุร้อยละ 78

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการในเด็กอายุ 0-72 เดือน ประจำปี 2561 จังหวัด นราธิวาส

    รหัสโครงการ 61-L2536-1-03

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวลลิศรา พฤติพัฒนพงศ์ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด