กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละกาโปร์


“ โครงการ สร้างพลังเครือข่าย ดูแลใส่ใจ จิตเวชเรื้อรัง ตำบลตะโละกาโปร์ ประจำปี2567 ”

ตำบลตะโละกาโปร์ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางสาวรุสมีณี ดอเลาะ

ชื่อโครงการ โครงการ สร้างพลังเครือข่าย ดูแลใส่ใจ จิตเวชเรื้อรัง ตำบลตะโละกาโปร์ ประจำปี2567

ที่อยู่ ตำบลตะโละกาโปร์ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 67-L8420-01-05 เลขที่ข้อตกลง 10/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2567 ถึง 31 สิงหาคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ สร้างพลังเครือข่าย ดูแลใส่ใจ จิตเวชเรื้อรัง ตำบลตะโละกาโปร์ ประจำปี2567 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตะโละกาโปร์ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละกาโปร์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ สร้างพลังเครือข่าย ดูแลใส่ใจ จิตเวชเรื้อรัง ตำบลตะโละกาโปร์ ประจำปี2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ สร้างพลังเครือข่าย ดูแลใส่ใจ จิตเวชเรื้อรัง ตำบลตะโละกาโปร์ ประจำปี2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตะโละกาโปร์ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 67-L8420-01-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2567 - 31 สิงหาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 18,900.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละกาโปร์ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ) ปัญหาสุขภาพจิตยังเป็นปัญหาที่สำคัญของประเทศไทยโดยพบว่าประชากร 1 ใน 5 ของประเทศมี ปัญหาสุขภาพจิต ทำให้เกิดความพิการและสูญเสียเป็นจำนวนมากทั้งนี้เพราะปัญหาสุขภาพจิตไม่ได้ส่งผลกระทบต่อเฉพาะตัวผู้ป่วยเท่านั้นแต่รวมไปถึงญาติผู้ดูแลและบุคคลอื่นๆ ในสังคมซึ่งทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตะโละกาโปร์ปี 2566 มีผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรัง (Schizophrenia)ที่รับการรักษาโรงพยาบาลยะหริ่งทั้งหมดจำนวน29ราย ได้ประสบปัญหาผู้ป่วยรับการรักษาไม่ต่อเนื่อง ขาดยา ทำให้ผู้ป่วยมีอาการกำเริบรุนแรงและสร้างความเดือดร้อนให้กับชุมชน จำนวน 10 ราย(ร้อยละ 34.48)ซึ่งรูปแบบการดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน ส่วนใหญ่เป็นหน้าที่คนในครอบครัว ขาดการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายการป้องกันและแก้ไขปัญหา จำเป็นต้องมีการพัฒนาศักยภาพของภาคีเครือข่ายร่วมด้วย
ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตะโละกาโปร์ จึงได้จัดทำโครงการสร้างพลังเครือข่าย ดูแลใส่ใจ จิตเวชเรื้อรัง ตำบลตะโละกาโปร์ ประจำปี 2567 เพื่อให้ผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่อง ลดอาการกำเริบหรือการกลับมาเป็นซ้ำ เพิ่มคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยและลดภาระของญาติ ซึ่งจะส่งผลให้ผู้ป่วยใช้ชีวิตอยู่ในชุมชนได้ตามปกติ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดผู้สูงวัย อายุ 60 ปีขึ้นไป ที่มีความเครียดระดับปานกลางถึงมาก
  2. เพื่อลดผู้สูงวัย อายุ 60 ปีขึ้นไป ที่มีภาวะซึมเศร้า
  3. ผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรัง มีอาการกำเริบตลอดโครงการ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมชี้แจงโครงการให้กับอาสาสมัครประจำหมู่บ้านตำบลตะโละกาโปร์ที่ทำหน้าที่ในการติดตามดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในเขตพื้นที่ตำบลตะโละกาโปร์และเพิ่มศักยภาพให้ความรู้เรื่องการดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชนพร้อมกับเจ้าหน้าที่ประจำโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
  2. ลงเยี่ยมบ้านผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังที่เป็นเป้าหมาย ในเขตพื้นที่ตำบลตะโละกาโปร์ โดยอาสาสมัครประจำหมู่บ้านตำบลตะโละกาโปร์ที่ทำหน้าที่ในการติดตามดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรัง(ระยะเวลา 3 ครั้ง)
  3. ถอดบทเรียน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ประเมินผลการดำเนินงานและสรุปผลการดำเนินงานร่วมกับอาสาสมัครประจำหมู่บ้านตำบลตะโละกาโปร์ ที่ทำหน้าที่ในการติดตามดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในเขตพื้นที่ตำบลตะโละกาโปร์พร้อมเจ้าหน้าที่ประจำโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตะโละกาโปร์ พร้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 30
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  • ผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังเป้าหมายได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่อง ลดอาการกำเริบหรือกลับมาเป็นซ้ำ
  • เกิดระบบการติดตามดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังอย่างต่อเนื่องในชุมชน
  • เพิ่มคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยส่งผลให้ผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังใช้ชีวิตอยู่ในชุมชนได้ตามปกติ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดผู้สูงวัย อายุ 60 ปีขึ้นไป ที่มีความเครียดระดับปานกลางถึงมาก
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้สูงวัย อายุ 60 ปีขึ้นไป ที่มีความเครียดระดับปานกลางถึงมาก
48.55 10.00

 

2 เพื่อลดผู้สูงวัย อายุ 60 ปีขึ้นไป ที่มีภาวะซึมเศร้า
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้สูงวัย อายุ 60 ปีขึ้นไป ที่มีภาวะซึมเศร้า
4.00 1.00

 

3 ผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรัง มีอาการกำเริบตลอดโครงการ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 3 ลดอาการกำเริบของผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรัง ให้อยู่ในระดับทรงตัว
10.00 3.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 30
กลุ่มผู้สูงอายุ 0
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดผู้สูงวัย อายุ 60 ปีขึ้นไป ที่มีความเครียดระดับปานกลางถึงมาก (2) เพื่อลดผู้สูงวัย อายุ 60 ปีขึ้นไป ที่มีภาวะซึมเศร้า (3) ผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรัง มีอาการกำเริบตลอดโครงการ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมชี้แจงโครงการให้กับอาสาสมัครประจำหมู่บ้านตำบลตะโละกาโปร์ที่ทำหน้าที่ในการติดตามดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในเขตพื้นที่ตำบลตะโละกาโปร์และเพิ่มศักยภาพให้ความรู้เรื่องการดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชนพร้อมกับเจ้าหน้าที่ประจำโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล  (2) ลงเยี่ยมบ้านผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังที่เป็นเป้าหมาย ในเขตพื้นที่ตำบลตะโละกาโปร์ โดยอาสาสมัครประจำหมู่บ้านตำบลตะโละกาโปร์ที่ทำหน้าที่ในการติดตามดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรัง(ระยะเวลา 3 ครั้ง) (3) ถอดบทเรียน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ประเมินผลการดำเนินงานและสรุปผลการดำเนินงานร่วมกับอาสาสมัครประจำหมู่บ้านตำบลตะโละกาโปร์ ที่ทำหน้าที่ในการติดตามดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในเขตพื้นที่ตำบลตะโละกาโปร์พร้อมเจ้าหน้าที่ประจำโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตะโละกาโปร์ พร้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการ สร้างพลังเครือข่าย ดูแลใส่ใจ จิตเวชเรื้อรัง ตำบลตะโละกาโปร์ ประจำปี2567 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 67-L8420-01-05

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวรุสมีณี ดอเลาะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด