กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปุโรง


“ โครงการรณรงค์และป้องกันโรคไอกรน ”

ตำบลปุโรง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นายอับดุลเลาะห์ หะยีสามะ

ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์และป้องกันโรคไอกรน

ที่อยู่ ตำบลปุโรง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา จังหวัด

รหัสโครงการ 67-L4113-05-06 เลขที่ข้อตกลง 06/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 30 มกราคม 2567 ถึง 29 กุมภาพันธ์ 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรณรงค์และป้องกันโรคไอกรน จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปุโรง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปุโรง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์และป้องกันโรคไอกรน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรณรงค์และป้องกันโรคไอกรน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปุโรง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 67-L4113-05-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 30 มกราคม 2567 - 29 กุมภาพันธ์ 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 21,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปุโรง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไอกรนเป็นโรคติดเชื้อของระบบทางเดินหายใจ ทำให้มีการอักเสบของเยื่อบุทางเดินหายใจ และเกิดอาการไอ ที่มีลักษณะพิเศษคือ ไอซ้อนๆ ติดๆ กัน 5-10 ครั้ง หรือมากกว่านั้นจนเด็กหายใจไม่ทัน จึงหยุดไอและมีอาการหายใจเข้าลึกๆ เป็นเสียง วู๊ป (Whooping cough) สลับกันไปกับการไอเป็นชุดๆ จึงมีชื่อเรียกว่า “โรคไอกรน” บางครั้งอาการอาจจะเรื้อรังนานเป็นเวลา 2-3 เดือน โรคไอกรนเป็นโรคที่ติดต่อกันได้ง่ายจากการไอ จาม รดกันโดยตรง ผู้สัมผัสโรคที่ไม่มีภูมิคุ้มกันจะติดเชื้อและเกิดโรคเกือบทุกราย โรคนี้พบได้บ่อยในเด็ก ส่วนใหญ่ติดเชื้อมาจากผู้ใหญ่ในครอบครัว ซึ่งมีการติดเชื้อแต่ไม่มีอาการ (carrier) หรือมีอาการไม่มาก โรคไอกรนเป็นได้กับทารกตั้งแต่เดือนแรก ทั้งนี้ เนื่องจากภูมิคุ้มกันจากแม่ผ่านมายังลูกไม่ได้หรือได้น้อยมาก ในเด็กเล็กอาการจะรุนแรงมากและมีอัตราตายสูง ส่วนใหญ่ของผู้ที่มีอาการรุนแรงและเสียชีวิต เป็นเด็กอายุต่ำกว่า 1 ปีและเป็นเด็กที่ไม่เคยได้รับวัคซีนมาก่อนโดยทั่วไปแล้วโรคนี้เป็นได้ทุกอายุ ถ้าไม่มีภูมิคุ้มกัน แต่ในวัยหนุ่มสาวหรือผู้ใหญ่อาจไม่มีอาการ หรือไม่มีอาการแบบไอกรนส่วนใหญ่จึงไม่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคไอกรน สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดยะลา ได้จัดเก็บข้อมูลผู้ป่วยไอกรนที่มีแนวโน้นเพิ่มขึ้นในจังหวัดยะลา ตั้งแต่ต้นเดือนมกราคม ๒๕๖๗ ถึงปัจจุบัน มีการแพร่ระบาดอย่างรวดเร็ว จำนวนผู้ป่วยไอกรนมากสุดอำเภอบันนังสตา จำนวน ๔๔ ราย อำเภอเมืองยะลา จำนวน ๒๗ ราย อำเภอธารโต จำนวน ๒๓ ราย อำเภอกาบัง จำนวน ๒๐ ราย อำเภอยะหา จำนวน ๑๒ ราย อำเภอเบตง ๙ ราย ส่วนอำเภอรามันและอำเภอกรงปินัง จำนวนอำเภอละ 5 ราย ส่วนใหญ่พบผู้ป่วยไอกรนในเด็กอายต่ำกว่า 9 ปี องค์การบริหารส่วนตำบลปุโรง มีศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในสังกัด จำนวน 4 ศูนย์ มีนักเรียนทั้งหมด จำนวน 103 คน ได้แก่ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กวัยเตาะแตะ 29 คน, ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านปุโรง 35 คน, ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านตะโล๊ะปานะ 28 คน และศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านลูโบ๊ะกาโล 11 คนดังนั้นเพื่อเป็นการควบคุม ป้องกันและระงับการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก ตามอำนาจหน้าที่แห่งพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537 มาตรา 67 (3) ป้องกันและระงับโรคระบาดงานสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม สำนักปลัด องค์การบริหารส่วนตำบลปุโรงจึงได้จัดทำโครงการรณรงค์และป้องกันโรคไอกรนขึ้น เพื่อเพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไอกรน การปฏิบัติตนในการป้องกันโรค และลดอัตราการเจ็บป่วยโรคติดต่อที่ส่งผลต่อสุขภาพที่ดีของประชาชนในชุมชน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไอกรน การปฏิบัติตนในการป้องกันโรค
  2. เพื่อลดอัตราการเจ็บป่วยโรคติดต่อ ที่ส่งผลต่อสุขภาพที่ดีของประชาชนในชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนการดำเนินงาน
  2. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เพื่อป้องกันโรคไอกรน
  3. กิจกรรมการสร้างภูมิคุ้มกันโรคไอกรนในเด็กด้วยวัคซีน
  4. กิจกรรมประชุมติดตามและประเมินผล

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 103
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 130
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไอกรน การปฏิบัติตนในการป้องกันโรค
  2. อัตราการเจ็บป่วยโรคติดต่อที่ส่งผลต่อสุขภาพของประชาชนในชุมชนลดลง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไอกรน การปฏิบัติตนในการป้องกันโรค
ตัวชี้วัด : ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไอกรน การปฏิบัติตนในการป้องกันโรค
0.00

 

2 เพื่อลดอัตราการเจ็บป่วยโรคติดต่อ ที่ส่งผลต่อสุขภาพที่ดีของประชาชนในชุมชน
ตัวชี้วัด : อัตราการเจ็บป่วยโรคติดต่อที่ส่งผลต่อสุขภาพของประชาชนในชุมชนลดลง
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 233
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 103
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 130
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไอกรน การปฏิบัติตนในการป้องกันโรค (2) เพื่อลดอัตราการเจ็บป่วยโรคติดต่อ ที่ส่งผลต่อสุขภาพที่ดีของประชาชนในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนการดำเนินงาน (2) กิจกรรมอบรมให้ความรู้เพื่อป้องกันโรคไอกรน (3) กิจกรรมการสร้างภูมิคุ้มกันโรคไอกรนในเด็กด้วยวัคซีน (4) กิจกรรมประชุมติดตามและประเมินผล

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการรณรงค์และป้องกันโรคไอกรน จังหวัด

รหัสโครงการ 67-L4113-05-06

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอับดุลเลาะห์ หะยีสามะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด