กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากน้ำ


“ โครงการโรงเรียนบ้านตะโละใสปลอดขยะ ปีงบประมาณ 2567 ”

ตำบลปากน้ำ อำเภอละงู จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นายเกษม สะหมัดหานาย

ชื่อโครงการ โครงการโรงเรียนบ้านตะโละใสปลอดขยะ ปีงบประมาณ 2567

ที่อยู่ ตำบลปากน้ำ อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 67-L5312-2-01 เลขที่ข้อตกลง 6/67

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการโรงเรียนบ้านตะโละใสปลอดขยะ ปีงบประมาณ 2567 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปากน้ำ อำเภอละงู จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากน้ำ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการโรงเรียนบ้านตะโละใสปลอดขยะ ปีงบประมาณ 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการโรงเรียนบ้านตะโละใสปลอดขยะ ปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปากน้ำ อำเภอละงู จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 67-L5312-2-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 53,330.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากน้ำ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม กระทรวงทัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้สนับสนุนการดำเนินโครงการโรงเรียนปลอดขยะ (Zero Waste School) ริเริ่มขึ้นเป็นครั้งแรกในปี ๒๕๕๖ จนถึงปัจจุบันนั้น ถือได้ว่าเป็นโครงการที่ดีอีกโครงการหนึ่งที่จะส่งเสริมให้สถานศึกษาทั่วประเทศ ดำเนินกิจกรรม ลด คัดแยก และนำกลับขยะมาใช้ประโยชน์ รวมถึงการรวบรวมขยะ เอาส่งไปกำจัดอย่างถูกต้อง ปลูกฝังจิตสำนึก การลด คัดแยกขยะ และนำขยะกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ในสถานศึกษา สร้างกระบวนการเรียนรู้แก่ผู้เรียนผ่านกิจกรรมต่างๆ และส่งเสริมการมีส่วนร่วมของผู้เรียนในการจัดการขยะ ทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นหน่วยงานหลัก ที่เกี่ยวข้องในการสร้างพลเมืองที่มีคุณภาพในการให้ความรู้ สร้างเจตคดี นำไปสู่การมีความตระหนักและมีจิตสำนึกที่ดีในด้านการจัดการขยะ น้ำเสีย มลพิษทางอากาศ พลังงานและอนุรักษ์ความหลากหลายทางธรรมชาติ โดยมีเป้าหมายเชิงนโยบาย ให้ทุกโรงเรียนทั่วประเทศ ดำเนินการเรื่องการสร้างวินัยด้านการจัดการขยะ น้ำเสีย มลพิษทางอากาศ
โรงเรียนบ้านตะโละใส เป็นโรงเรียนขนาดกลาง มีจำนวนนักเรียนทั้งสิ้น 574 คน ปัญหาขยะมูลฝอยภายในโรงเรียนนั้นเกิดจากฝีมือมนุษย์สร้างขึ้นและเกิดจากธรรมชาติ ซึ่งสร้างมลพิษและปัญหาให้กับทางโรงเรียนได้แก่ เศษใบไม้จากต้นไม้ เศษวัชพืชที่มีอยู่ในแปลงเกษตรหรือตาม โคนต้นไม้ต่างๆ จนเกิดการสะสมอยู่เป็นจำนวนมาก บางครั้งมีมากไม่รู้จะกําจัดอย่างไรจึงปล่อยให้แห้งและเผา ซึ่งเป็นการทำลายชั้นบรรยากาศอาจส่งผลต่อการเกิดภาวะโลกร้อนได้ ขยะที่เกิดจากการทิ้งของคนในชุมชน ที่เข้าไปใช้บริการเล่นกีฬาหรือทำกิจกรรมต่างๆ ภายในโรงเรียนในช่วงตอนเย็นของวันจันทร์-ศุกร์ หรือวันหยุดเสาร์อาทิตย์ เพราะบางครั้งจุดตั้งถังขยะอยู่ไกลมือจึงไม่สามารถนําไปทิ้งที่ถังขยะได้ เลยทิ้งไว้บริเวณที่ทำกิจกรรมแทน ทำให้สร้างภาระให้กับนักเรียนต้องเก็บทำความสะอาด เศษอาหารหรือเศษเปลือกผลไม้ในโครงการอาหารกลางวันที่นักเรียนรับประทานไม่หมดจนเหลือทิ้งและจากการจัดทำผลไม้ที่เป็นอาหารเสริมให้กับนักเรียนซึ่งผลไม้บางชนิดต้องปอกเปลือกรับประทานเศษเปลือกที่เหลือนําไปทิ้งโดยเปล่าประโยชน์ กล่องนม UHT หรือถุงนมพาสเจอร์ไรส์จากโครงการอาหารเสริมของโรงเรียน ถุงพลาสติกที่ใช้แล้วซึ่งมาจากจากการใส่สิ่งของจากนักเรียนหรือจากบุคลากรภายในโรงเรียน เศษวัสดุเหลือใช้จากคนในชุมชนหรือผู้ปกครองนักเรียน ซึ่งชุมชนหรือผู้ปกครองมองไม่เห็นคุณค่าทิ้งลงถัง จากปัญหาดังกล่าวส่งผลกระทบให้โรงเรียนบ้านตะโละใสมีขยะที่เกิดจากธรรมชาติและเกิดจากที่มนุษย์สร้างขึ้น จึงได้ร่วมกันวางแผนดำเนินการแก้ไขปัญหา โดยจัดทำโครงการโรงเรียนปลอดขยะ (Zero Waste School) ขึ้นที่บูรณาการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการบริหารจัดการขยะให้มีประสิทธิภาพที่ดียิ่งขึ้น ผ่านการร่วมมือกับ คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะครู ผู้ปกครอง และนักเรียน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เด็กนักเรียนระดับชั้นอนุบาลจนถึงระดับประถมศึกษา มีความเข้าใจในการคัดแยกขยะแต่ละประเภท การนำขยะกลับมาใช้ใหม่ การทำสื่อการเรียนการทำปุ๋ยหมักจุลินทรีย์ ปรับปรุงภูมทัศน์ให้น่าอยู่

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมการจัดการขยะครู และบุคลากรทางการศึกษา สภานักเรียน และเครือข่ายผู้ปกครองนักเรียนโรงเรียนบ้านตะโละใส
  2. กิจกรรมการประกวดสิ่งประดิษฐ์จากเศษวัสดุเหลือใช้ นำขยะกลับมาใช้ประโยชน์ ผลิตสื่อการเรียน การสอนและผลิตปุ๋ยชีวภาพ
  3. กิจกรรมคัดแยกขยะ ลดขยะอินทรีย์ กินอาหาร ให้หมดไม่เหลือเศษอาหาร
  4. ธนาคารขยะ
  5. กิจกรรมที่ 5 แปลงสาธิตเศรษฐกิจพอเพียง เป็นการนำปุ๋ยชีวภาพจากกิจกรรมผลิตปุ๋ยชีวภาพมาใช้ประโยชน์ ซึ่งทางโรงเรียนมีแปลงสาธิตการเกษตรอยู่แล้ว

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา 32
สภานักเรียน 15
เครือข่ายผู้ปกครองนักเรียน 110

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ครู เครือข่ายผู้ปกครองและนักเรียน มีความรู้เรื่องการลด การคัดแยกขยะ และการนำขยะกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่

  2. นักเรียนเห็นความสำคัญ สามารถปฏิบัติการลด การคัดแยกขยะ และการนำขยะกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ได้

  3. โรงเรียนมีสภาพแวดล้อมที่ร่มรื่นสวยงาม ปลอดขยะ และมีบรรยากาศเอื้อต่อการเรียนรู้


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เด็กนักเรียนระดับชั้นอนุบาลจนถึงระดับประถมศึกษา มีความเข้าใจในการคัดแยกขยะแต่ละประเภท การนำขยะกลับมาใช้ใหม่ การทำสื่อการเรียนการทำปุ๋ยหมักจุลินทรีย์ ปรับปรุงภูมทัศน์ให้น่าอยู่
ตัวชี้วัด : เด็กนักเรียนระดับชั้นอนุบาลจนถึงระดับชั้นประถมศึกษา มีความรู้ความเข้าใจ และเล็งเห็นความสําคัญ ในเรื่องการลด การคัดแยกขยะ การนําขยะกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ได้ ผู้ปกครองเด็กนักเรียนระดับชั้นอนุบาลจนถึงระดับชั้นประถมศึกษา มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องขยะมากขึ้น ทั้งการทำปุ๋ยหมักจุลินทรีย์
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 157
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา 32
สภานักเรียน 15
เครือข่ายผู้ปกครองนักเรียน 110

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เด็กนักเรียนระดับชั้นอนุบาลจนถึงระดับประถมศึกษา มีความเข้าใจในการคัดแยกขยะแต่ละประเภท การนำขยะกลับมาใช้ใหม่ การทำสื่อการเรียนการทำปุ๋ยหมักจุลินทรีย์ ปรับปรุงภูมทัศน์ให้น่าอยู่

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมการจัดการขยะครู และบุคลากรทางการศึกษา สภานักเรียน และเครือข่ายผู้ปกครองนักเรียนโรงเรียนบ้านตะโละใส (2) กิจกรรมการประกวดสิ่งประดิษฐ์จากเศษวัสดุเหลือใช้ นำขยะกลับมาใช้ประโยชน์ ผลิตสื่อการเรียน การสอนและผลิตปุ๋ยชีวภาพ (3) กิจกรรมคัดแยกขยะ  ลดขยะอินทรีย์ กินอาหาร ให้หมดไม่เหลือเศษอาหาร (4) ธนาคารขยะ (5) กิจกรรมที่ 5 แปลงสาธิตเศรษฐกิจพอเพียง  เป็นการนำปุ๋ยชีวภาพจากกิจกรรมผลิตปุ๋ยชีวภาพมาใช้ประโยชน์ ซึ่งทางโรงเรียนมีแปลงสาธิตการเกษตรอยู่แล้ว

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการโรงเรียนบ้านตะโละใสปลอดขยะ ปีงบประมาณ 2567 จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 67-L5312-2-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายเกษม สะหมัดหานาย )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด