โครงการป้องกันและควบคุมโรคที่เกิดจากยุงลายเป็นพาหะในพื้นที่ตำบลบ้านควน ปีงบประมาณ 2567
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการป้องกันและควบคุมโรคที่เกิดจากยุงลายเป็นพาหะในพื้นที่ตำบลบ้านควน ปีงบประมาณ 2567 ”
ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นางฮอดีย๊ะ ตะหวัน
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน
ธันวาคม 2567
ชื่อโครงการ โครงการป้องกันและควบคุมโรคที่เกิดจากยุงลายเป็นพาหะในพื้นที่ตำบลบ้านควน ปีงบประมาณ 2567
ที่อยู่ ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 67-L5307-5-01 เลขที่ข้อตกลง 02/2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2567 ถึง 31 ธันวาคม 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการป้องกันและควบคุมโรคที่เกิดจากยุงลายเป็นพาหะในพื้นที่ตำบลบ้านควน ปีงบประมาณ 2567 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันและควบคุมโรคที่เกิดจากยุงลายเป็นพาหะในพื้นที่ตำบลบ้านควน ปีงบประมาณ 2567
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการป้องกันและควบคุมโรคที่เกิดจากยุงลายเป็นพาหะในพื้นที่ตำบลบ้านควน ปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 67-L5307-5-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2567 - 31 ธันวาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 87,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อที่มียุงลายเป็นพาหนะนำโรค ในอดีตที่ผ่านมามักมีการระบาดในฤดูฝนเพราะมีแหล่งเพาะพันธ์ุลูกน้ำยุงลายมากแต่ปัจจุบันได้มีการระบาดได้ตลอดทั้งปี ปัจจุบันโรคไข้เลือดออก มีการระบาดกระจายทั่วประเทศ ทุกจังหวัด และอำเภอ การกระจายของโรคมีการเปลี่ยนแปลง ตามพื้นที่อยู่ตลอดเวลา ปัจจัยที่มีความสำคัญต่อการแพร่กระจายของโรคมีความซับซ้อนและแตกต่างกันในแต่ละพื้นที่ และยังมีส่วนทำให้รูปแบบการเกิดโรคมีความผันแปรในแต่ละปี จากสถานการณ์โรคไข้เลือดออกในปี พ.ศ.2566 (ข้อมูลจากระบบรายงานการเฝ้าระวังโรค 506 สำนักระบาดวิทยา ณ วันที่ 26 สิงหาคม 2566) มีผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก สะสม 79,475 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 120.25 ต่อแสนประชากร ผู้เสียชีวิต 73 ราย คิดเป็นอัตราตาย 0.09 ต่อแสนประชากร จากรายงานสถานการณ์โรคไข้เลือดออก ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2567 ถึง วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2567 อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล โรงพยาบาลสตูลได้รับรายงานผู้ป่วยสงสัยโรคไข้เลือดออก จำนวนทั้งสิ้น 14 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 12.3 ต่อประชากรแสนคน พบผู้ป่วยเพศหญิง 8 ราย เพศชาย 6 ราย อัตราส่วนเพศหญิงต่อเพศชาย เท่ากับ 1: 0.7 กลุ่มอายุที่พบสูงสุด คือกลุ่มอายุ 0-4 ปี,อายุ 5 - 9 ปี และอายุ 10 - 14 ปี จำนวนผู้ป่วยเท่ากัน โดยกลุ่มผู้ป่วยส่วนใหญ่จะอยู่ในกลุ่มวัยเรียน จากการเปรียบเทียบผู้ป่วยสงสัยไข้เลือดออก ปี 2567 กับค่า Median 5 ปีย้อนหลัง พบว่าเริ่มมีการระบาดตั้งแต่ต้นปี ทางงานระบาดได้เน้นให้พื้นที่ทำตามมาตรการ 3-3-1 อย่างเข้มงวดเมื่อเจอผู้ป่วยมนพื้นที่ (ข้อมูลจาก E1 โรคไข้เลือดออก งานระบาดวิทยา โรงพยาบาลสตูล ณ กุมภาพันธ์ 2567)ซึ่งหากขาดการดำเนินการควบคุมป้องกันอย่างต่อเนื่องก็อาจมีแนวโน้มที่จะพบผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกรายใหม่เพิ่มมากขึ้น ซึ่งการควบคุมป้องกันที่ดีและมีประสิทธิภาพนั้นจำเป็นจะต้องร่วมมือกันทุกๆฝ่าย ทั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้นำชุมชน โรงเรียน มัสยิด วัด อาสาสมัครสาธารณสุข โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควน และประชาชนทั่วไป ร่วมมือบูรณาการเพื่อป้องกันควบคุมโรคดังกล่าว
ดังนั้นเพื่อเป็นการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก รวมทั้งส่งเสริมให้ประชาชนได้มีส่วนร่วมและเห็นความสำคัญในการป้องกันโรค กลุ่มป้องกันควบคุมโรคตำบลบ้านควน จึงได้จัดทำโครงการป้องกันและควบคุมโรคที่เกิดจากยุงลายเป็นพาหะในพื้นที่ตำบลบ้านควน ประจำปีงบประมาณ 2567 ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อเป็นการควบคุม ป้องกัน การเกิดโรคที่มียุงเป็นพาหะในเขตพื้นที่ตำบลบ้านควน
- เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจและมีส่วนร่วมในการป้องกันควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก
- 3.เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก
- เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมพ่นสารเคมี กำจัดยุงตัวแก่ในพื้นที่ตำบลบ้านควน
- รณรงค์ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
11,321
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.เพื่อสามารถควบคุมป้องกันการเกิดโรคที่มียุงลายเป็นพาหะได้
2.เพื่อให้ประชาชนได้รับความรู้ เกิดความตระหนักในการป้องกันโรคที่เกิดจากยุงลายเป็นพาหะ
3.เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. กิจกรรมพ่นสารเคมี กำจัดยุงตัวแก่ในพื้นที่ตำบลบ้านควน
วันที่ 1 พฤษภาคม 2567 เวลา 13:30 น.กิจกรรมที่ทำ
1.ควบคุมทำลายตัวแก่โดยการพ่นสารเคมีกำจัดยุง ก่อนการระบาดของโรคและช่วงการระบาดของโรคไข้เลือดออก
2.ดำเนินการควบคุมโรคกรณีการพบผู้ป่วย รัศมี 100 เมตร
3.ดำเนินการควบคุมป้องกันโรคในสถานศึกษาในช่วงก่อนเปิดภาคเรียน และมัสยิด
4.ติดตามและสรุปผลการดำเนินกิจกรรม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
กิจกรรมพ่นสารเคมี กำจัดยุงตัวแก่ในพื้นที่ตำบลบ้านควนในโรงเรียน มัสยิด บ้านผู้ป่วยและรอบบ้านผู้ป่วยในรัศมี 100 เมตร
0
0
2. รณรงค์ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก
วันที่ 11 พฤษภาคม 2567 เวลา 13:30 น.กิจกรรมที่ทำ
รณรงค์ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
มีการจัดกิจกรรมรณรงค์ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
1.ลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก
2.ประชาชนมีความรู้ มีความตระหนักในการป้องกันตนเอง และร่วมมือกันกำจัดลูกน้ำยุงลาย ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในบ้านเรือน ชุมชนของตนเอง ร่วมกันปรับปรุงสภาพแวดล้อมให้สะอาดถูกสุขลักษณะ
3.ประชาชน ชุมชน มีส่วนร่วมและดำเนินการควบคุมโรคอย่างยั่งยืน
4.ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย HI CI ของแต่ละหมู่บ้าน ไม่เกิน 10
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อเป็นการควบคุม ป้องกัน การเกิดโรคที่มียุงเป็นพาหะในเขตพื้นที่ตำบลบ้านควน
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยจากโรคไข้เลือดออกได้รับการสอบสวนโรค ร้อยละ 100
80.00
100.00
100.00
2
เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจและมีส่วนร่วมในการป้องกันควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ ในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกที่ถูกวิธีเพิ่มขึ้น ร้อยละ 80
50.00
80.00
85.00
3
3.เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : ประชากรป่วยจากโรคไข้เลือดออกลดลง
0.00
0.00
4
เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด
ตัวชี้วัด : การแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากไข้เลือดออกระบาด(ร้อยละ)
80.00
80.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
11321
11321
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
11,321
11,321
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
0
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเป็นการควบคุม ป้องกัน การเกิดโรคที่มียุงเป็นพาหะในเขตพื้นที่ตำบลบ้านควน (2) เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจและมีส่วนร่วมในการป้องกันควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก (3) 3.เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก (4) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมพ่นสารเคมี กำจัดยุงตัวแก่ในพื้นที่ตำบลบ้านควน (2) รณรงค์ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการป้องกันและควบคุมโรคที่เกิดจากยุงลายเป็นพาหะในพื้นที่ตำบลบ้านควน ปีงบประมาณ 2567 จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 67-L5307-5-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางฮอดีย๊ะ ตะหวัน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการป้องกันและควบคุมโรคที่เกิดจากยุงลายเป็นพาหะในพื้นที่ตำบลบ้านควน ปีงบประมาณ 2567 ”
ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นางฮอดีย๊ะ ตะหวัน
ธันวาคม 2567
ที่อยู่ ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 67-L5307-5-01 เลขที่ข้อตกลง 02/2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2567 ถึง 31 ธันวาคม 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการป้องกันและควบคุมโรคที่เกิดจากยุงลายเป็นพาหะในพื้นที่ตำบลบ้านควน ปีงบประมาณ 2567 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันและควบคุมโรคที่เกิดจากยุงลายเป็นพาหะในพื้นที่ตำบลบ้านควน ปีงบประมาณ 2567
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการป้องกันและควบคุมโรคที่เกิดจากยุงลายเป็นพาหะในพื้นที่ตำบลบ้านควน ปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 67-L5307-5-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2567 - 31 ธันวาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 87,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อที่มียุงลายเป็นพาหนะนำโรค ในอดีตที่ผ่านมามักมีการระบาดในฤดูฝนเพราะมีแหล่งเพาะพันธ์ุลูกน้ำยุงลายมากแต่ปัจจุบันได้มีการระบาดได้ตลอดทั้งปี ปัจจุบันโรคไข้เลือดออก มีการระบาดกระจายทั่วประเทศ ทุกจังหวัด และอำเภอ การกระจายของโรคมีการเปลี่ยนแปลง ตามพื้นที่อยู่ตลอดเวลา ปัจจัยที่มีความสำคัญต่อการแพร่กระจายของโรคมีความซับซ้อนและแตกต่างกันในแต่ละพื้นที่ และยังมีส่วนทำให้รูปแบบการเกิดโรคมีความผันแปรในแต่ละปี จากสถานการณ์โรคไข้เลือดออกในปี พ.ศ.2566 (ข้อมูลจากระบบรายงานการเฝ้าระวังโรค 506 สำนักระบาดวิทยา ณ วันที่ 26 สิงหาคม 2566) มีผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก สะสม 79,475 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 120.25 ต่อแสนประชากร ผู้เสียชีวิต 73 ราย คิดเป็นอัตราตาย 0.09 ต่อแสนประชากร จากรายงานสถานการณ์โรคไข้เลือดออก ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2567 ถึง วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2567 อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล โรงพยาบาลสตูลได้รับรายงานผู้ป่วยสงสัยโรคไข้เลือดออก จำนวนทั้งสิ้น 14 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 12.3 ต่อประชากรแสนคน พบผู้ป่วยเพศหญิง 8 ราย เพศชาย 6 ราย อัตราส่วนเพศหญิงต่อเพศชาย เท่ากับ 1: 0.7 กลุ่มอายุที่พบสูงสุด คือกลุ่มอายุ 0-4 ปี,อายุ 5 - 9 ปี และอายุ 10 - 14 ปี จำนวนผู้ป่วยเท่ากัน โดยกลุ่มผู้ป่วยส่วนใหญ่จะอยู่ในกลุ่มวัยเรียน จากการเปรียบเทียบผู้ป่วยสงสัยไข้เลือดออก ปี 2567 กับค่า Median 5 ปีย้อนหลัง พบว่าเริ่มมีการระบาดตั้งแต่ต้นปี ทางงานระบาดได้เน้นให้พื้นที่ทำตามมาตรการ 3-3-1 อย่างเข้มงวดเมื่อเจอผู้ป่วยมนพื้นที่ (ข้อมูลจาก E1 โรคไข้เลือดออก งานระบาดวิทยา โรงพยาบาลสตูล ณ กุมภาพันธ์ 2567)ซึ่งหากขาดการดำเนินการควบคุมป้องกันอย่างต่อเนื่องก็อาจมีแนวโน้มที่จะพบผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกรายใหม่เพิ่มมากขึ้น ซึ่งการควบคุมป้องกันที่ดีและมีประสิทธิภาพนั้นจำเป็นจะต้องร่วมมือกันทุกๆฝ่าย ทั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้นำชุมชน โรงเรียน มัสยิด วัด อาสาสมัครสาธารณสุข โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควน และประชาชนทั่วไป ร่วมมือบูรณาการเพื่อป้องกันควบคุมโรคดังกล่าว
ดังนั้นเพื่อเป็นการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก รวมทั้งส่งเสริมให้ประชาชนได้มีส่วนร่วมและเห็นความสำคัญในการป้องกันโรค กลุ่มป้องกันควบคุมโรคตำบลบ้านควน จึงได้จัดทำโครงการป้องกันและควบคุมโรคที่เกิดจากยุงลายเป็นพาหะในพื้นที่ตำบลบ้านควน ประจำปีงบประมาณ 2567 ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อเป็นการควบคุม ป้องกัน การเกิดโรคที่มียุงเป็นพาหะในเขตพื้นที่ตำบลบ้านควน
- เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจและมีส่วนร่วมในการป้องกันควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก
- 3.เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก
- เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมพ่นสารเคมี กำจัดยุงตัวแก่ในพื้นที่ตำบลบ้านควน
- รณรงค์ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 11,321 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.เพื่อสามารถควบคุมป้องกันการเกิดโรคที่มียุงลายเป็นพาหะได้
2.เพื่อให้ประชาชนได้รับความรู้ เกิดความตระหนักในการป้องกันโรคที่เกิดจากยุงลายเป็นพาหะ
3.เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. กิจกรรมพ่นสารเคมี กำจัดยุงตัวแก่ในพื้นที่ตำบลบ้านควน |
||
วันที่ 1 พฤษภาคม 2567 เวลา 13:30 น.กิจกรรมที่ทำ1.ควบคุมทำลายตัวแก่โดยการพ่นสารเคมีกำจัดยุง ก่อนการระบาดของโรคและช่วงการระบาดของโรคไข้เลือดออก ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกิจกรรมพ่นสารเคมี กำจัดยุงตัวแก่ในพื้นที่ตำบลบ้านควนในโรงเรียน มัสยิด บ้านผู้ป่วยและรอบบ้านผู้ป่วยในรัศมี 100 เมตร
|
0 | 0 |
2. รณรงค์ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก |
||
วันที่ 11 พฤษภาคม 2567 เวลา 13:30 น.กิจกรรมที่ทำรณรงค์ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมีการจัดกิจกรรมรณรงค์ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
1.ลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก
2.ประชาชนมีความรู้ มีความตระหนักในการป้องกันตนเอง และร่วมมือกันกำจัดลูกน้ำยุงลาย ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในบ้านเรือน ชุมชนของตนเอง ร่วมกันปรับปรุงสภาพแวดล้อมให้สะอาดถูกสุขลักษณะ
3.ประชาชน ชุมชน มีส่วนร่วมและดำเนินการควบคุมโรคอย่างยั่งยืน
4.ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย HI CI ของแต่ละหมู่บ้าน ไม่เกิน 10
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อเป็นการควบคุม ป้องกัน การเกิดโรคที่มียุงเป็นพาหะในเขตพื้นที่ตำบลบ้านควน ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยจากโรคไข้เลือดออกได้รับการสอบสวนโรค ร้อยละ 100 |
80.00 | 100.00 | 100.00 |
|
2 | เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจและมีส่วนร่วมในการป้องกันควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก ตัวชี้วัด : ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ ในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกที่ถูกวิธีเพิ่มขึ้น ร้อยละ 80 |
50.00 | 80.00 | 85.00 |
|
3 | 3.เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ตัวชี้วัด : ประชากรป่วยจากโรคไข้เลือดออกลดลง |
0.00 | 0.00 |
|
|
4 | เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด ตัวชี้วัด : การแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากไข้เลือดออกระบาด(ร้อยละ) |
80.00 | 80.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 11321 | 11321 | |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 11,321 | 11,321 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | 0 |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเป็นการควบคุม ป้องกัน การเกิดโรคที่มียุงเป็นพาหะในเขตพื้นที่ตำบลบ้านควน (2) เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจและมีส่วนร่วมในการป้องกันควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก (3) 3.เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก (4) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมพ่นสารเคมี กำจัดยุงตัวแก่ในพื้นที่ตำบลบ้านควน (2) รณรงค์ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการป้องกันและควบคุมโรคที่เกิดจากยุงลายเป็นพาหะในพื้นที่ตำบลบ้านควน ปีงบประมาณ 2567 จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 67-L5307-5-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางฮอดีย๊ะ ตะหวัน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......