กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา


“ โครงการเด็กน้อยฟันดี ห่างไกลฟันผุ ในเด็ก 0-3 ปี ปีงบประมาณ 2567 ”

ตำบลทุ่งตำเสา อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายสุกิจ เถาถวิล

ชื่อโครงการ โครงการเด็กน้อยฟันดี ห่างไกลฟันผุ ในเด็ก 0-3 ปี ปีงบประมาณ 2567

ที่อยู่ ตำบลทุ่งตำเสา อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 67-L5275-01-003 เลขที่ข้อตกลง 10

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 6 กุมภาพันธ์ 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเด็กน้อยฟันดี ห่างไกลฟันผุ ในเด็ก 0-3 ปี ปีงบประมาณ 2567 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งตำเสา อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเด็กน้อยฟันดี ห่างไกลฟันผุ ในเด็ก 0-3 ปี ปีงบประมาณ 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเด็กน้อยฟันดี ห่างไกลฟันผุ ในเด็ก 0-3 ปี ปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งตำเสา อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 67-L5275-01-003 ระยะเวลาการดำเนินงาน 6 กุมภาพันธ์ 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 33,285.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การส่งเสริมสุขภาพช่องปากที่ดีของเด็กช่วงอายุ ๐-๓ ปี จะต้องเริ่มจากแม่ที่กำลังตั้งครรภ์ ทั้งนี้เพราะ ฟันของลูกเริ่มสร้างขณะที่ลูกอยู่ในครรภ์ของแม่ ภาวะโภชนาการและสุขภาพของแม่ จึงส่งผลโดยตรงต่อพัฒนาการ การสร้างฟันของลูกขณะที่อยู่ในครรภ์นั่นเอง โรคฟันผุเป็นโรคติดเชื้อ เนื่องจากสามารถแพร่กระจายเชื้อได้ โดยสามารถ ถ่ายทอดเชื้อจากแม่ หรือผู้เลี้ยงดูเด็กสู่ลูกได้ การเกิดฟันผุในน้ำนมมีปัจจัยที่เกี่ยวข้องสอดคล้องกับฟันแท้ แต่มี รายละเอียดที่แตกต่างกัน เพราะเป็นฟันผุที่เกิดกับเด็กในช่วงอายุน้อย ซึ่งอยู่ในระหว่างการพัฒนาหลายด้าน ปัจจัยที่ เกี่ยวข้องกับการเกิดฟันผุในฟันน้ำนมได้แก่ ฟัน อาหาร จุลินทรีย์ รวมถึงระบบภูมิคุ้มกันของเด็ก ซึ่งมารดามีบทบาท สำคัญต่อภูมิคุ้มกันของลูก ผลกระทบของการมีฟันผุในฟันน้ำนม นอกจากจะเกิดความเจ็บปวด การติดเชื้อและปัญหา การบดเคี้ยวแล้ว ยังมีผลต่อน้ำหนัก และการเจริญเติบโตของเด็ก บุคลิกภาพที่ขาดความมั่นใจในตนเอง และอาจมีผล ต่อการเกิดฟันผุและพัฒนาการของฟันแท้ด้วย นอกจากนี้พบว่า เด็กที่มีฟันน้ำนมผุ โอกาสที่พันแท้จะผุมีมากกว่าเด็กที่ ไม่มีฟันน้ำนมผุสาเหตุการเกิดโรคฟันผุส่วนใหญ่ ในเด็กก่อนวัยเรียน เกิดจากพฤติกรรมการเลี้ยงดูของผู้ปกครอง การทำ ความสะอาดช่องปาก ฐานะทางเศรษฐกิจ ระดับการศึกษา อาชีพ ความรู้เกี่ยวกับทันตสุขภาพ ทัศนคติกับการตระหนัก ถึงสุขภาพช่องปาก รวมถึงสุขภาพช่องปากของพ่อแม่ ปัญหาสุขภาพช่องปากเป็นหนึ่งในปัจจัยทางชีวภาพด้านสุขภาพของเด็กปฐมวัย ซึ่งจากการศึกษาของ กรมอนามัย เรื่องพัฒนาการของเด็กปฐมวัยไทยล่าสุด พบว่าเด็กปฐมวัยที่ไม่มีปัญหาสุขภาพช่องปากมีโอกาส ที่จะพัฒนาการสมวัยเพิ่มขึ้น ๑.๔๓ เท่า เมื่อเปรียบเทียบกับเด็กที่มีปัญหาสุขภาพช่องปาก และจากการสำรวจสภาวะ สุขภาพช่องปากแห่งชาติครั้งที่ 4 ประเทศไทย ยังคงพบความชุกของโรคฟันผุในเด็กอายุ ๓ ปี ร้อยละ ๕๒.๙ มีค่าเฉลี่ย ฟัน ถอน อุด ๒๔ คน และจากการข้อมูลทาง ทันตสุขภาพเด็ก อายุ ๐-๓ ปี ที่มารับบริการที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหูแร่ ปี ๒๕๖๐ พบว่าพบความชุกของโรคฟันผุในเด็กอายุ ๑-๓ ปี ร้อยละ ๕๒๒.๒ และมีค่าเฉลี่ยพัน น้ำนมผุถอน อุด (dmft) เท่ากับ ๓.๑ ซึ่งมีค่าสูงกว่าในระดับประเทศแสดงให้เห็นเด็ก ๐-๓ ปี ในพื้นที่รับผิดชอบของ รพ.สต.หูแร่ ไม่สามารถทำความสะอาดช่องปากได้ดีเท่าที่ควร การป้องกันฟันผุในเด็กเล็กที่ง่ายและได้ผลดีที่สุด คือ ผู้ปกครองควรแปรงฟันให้เด็กตั้งแต่ฟันน้ำนมซี่แรกเริ่มขึ้นด้วยยาสีฟันผสมฟลูออไรด์ และแปรงฟันให้ต่อเนื่องจนกว่า เด็กมีพัฒนาการข้อมือที่แข็งแรง ประมาณอายุ ๓-๔ ปี เด็กจึงจะสามารถแปรงฟันได้เอง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหูแร่ ได้เล็งเห็นปัญหาดังกล่าวข้างต้น จึงได้จัดทำโครงการเด็ก น้อยฟันดี ห่างโกลฟันผุ ในเด็ก ๐-๓ ปี ปีงบประมาณ ๒๕๒๗ ขึ้น โดยการทำโครงการเชิงรุกในชุมชนเพื่อแก้ไขปัญหา ดังกล่าวข้างต้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมให้ผู้เลี้ยงดูเด็ก ๐-๓ปีมีความรู้ ความเข้าใจในการรักษาความสะอาดในช่องปาก และฟัน
  2. เพื่อให้ผู้เลี้ยงดูเด็ก ๐-๓ปี รู้จักและเข้าใจ ร้อยละ ขั้นตอนการแปรงฟัน ดูแลช่องปากที่ถูกต้องถูกวิธี
  3. เพื่อให้เด็ก ๐-๓ ปีในชุมชนได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากและทาฟลูออไรด์เฉพาะที่

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 90
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. ผู้เลี้ยงดูเด็ก ๐-๓ ปี มีความรู้ความเข้าใจในการดูแลช่องปากและฟัน สามารถแปรงฟันให้ลูกได้อย่างถูกวิธี
๒. เด็ก ๐-๓ ปี ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก เด็กที่มีปัญหาสุขภาพช่องปาก ได้รับคำแนะนำ และส่งต่อมารับการ รักษาที่จำเป็นที่โรงพยาบาลได้


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมให้ผู้เลี้ยงดูเด็ก ๐-๓ปีมีความรู้ ความเข้าใจในการรักษาความสะอาดในช่องปาก และฟัน
ตัวชี้วัด : ผู้เลี้ยงดูเด็กมีระดับความรู้ในการดูแลทันตสุขภาพ เด็ก ๐-๓ ปี ที่ถูกต้อง ในระดับดี ร้อยละ ๘๐ ขึ้นไป
0.00

 

2 เพื่อให้ผู้เลี้ยงดูเด็ก ๐-๓ปี รู้จักและเข้าใจ ร้อยละ ขั้นตอนการแปรงฟัน ดูแลช่องปากที่ถูกต้องถูกวิธี
ตัวชี้วัด : ผู้เลี้ยงดูเด็กสามารถแปรงฟันเด็ก ๐-๓ ปี ได้อย่างถูกต้อง ร้อยละ ๑๐๐
0.00

 

3 เพื่อให้เด็ก ๐-๓ ปีในชุมชนได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากและทาฟลูออไรด์เฉพาะที่
ตัวชี้วัด : เด็กอายุ 0-3 ปี ที่มีฟันได้รับการทาฟูลออไรค์วานิช ร้อยละ 80
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 90
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 90
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้ผู้เลี้ยงดูเด็ก ๐-๓ปีมีความรู้ ความเข้าใจในการรักษาความสะอาดในช่องปาก และฟัน (2) เพื่อให้ผู้เลี้ยงดูเด็ก ๐-๓ปี รู้จักและเข้าใจ ร้อยละ ขั้นตอนการแปรงฟัน ดูแลช่องปากที่ถูกต้องถูกวิธี (3) เพื่อให้เด็ก ๐-๓ ปีในชุมชนได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากและทาฟลูออไรด์เฉพาะที่

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเด็กน้อยฟันดี ห่างไกลฟันผุ ในเด็ก 0-3 ปี ปีงบประมาณ 2567 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 67-L5275-01-003

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายสุกิจ เถาถวิล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด