โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ในกลุมเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ชุมชนเทศบาลตำบลยะรัง ปี 2567
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ในกลุมเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ชุมชนเทศบาลตำบลยะรัง ปี 2567 ”
ตำบลยะรัง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางสาวนูรีซัน มะแซ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลยะรัง
กันยายน 2567
ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ในกลุมเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ชุมชนเทศบาลตำบลยะรัง ปี 2567
ที่อยู่ ตำบลยะรัง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 67-L8286-1-02 เลขที่ข้อตกลง 04/67
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ในกลุมเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ชุมชนเทศบาลตำบลยะรัง ปี 2567 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยะรัง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลยะรัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ในกลุมเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ชุมชนเทศบาลตำบลยะรัง ปี 2567
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ในกลุมเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ชุมชนเทศบาลตำบลยะรัง ปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลยะรัง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 67-L8286-1-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 22,750.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลยะรัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันทั่วโลกให้ความสำคัญกับการจัดการโรคไม่ติดต่อเรื้อรังมากขึ้น
เนื่องจากสภาวะความเป็นอยู่และวิถีชีวิตที่เปลี่ยนไปทำให้ผู้ป่วยกลุ่มนี้มีจำานวนเพิ่มมาก
โดยเฉพาะใน 4 โรคสำคัญคือโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD), โรคเบาหวาน, โรคมะเร็ง
และโรคทางเดินหายใจเรื้อรังเป็น4โรคไม่ติดต่อสำคัญที่เป็นภัยเงียบคร่าชีวิตประชากร
ทั่วโลกถึงร้อยละ 85 ของการเสียชีวิตจากกลุ่มโรคไม่ติดต่อทั้งหมด
โดยเฉพาะภาวะความดันโลหิตสูงนั้น ไม่เพียงแต่นำไปสู่ทั้ง 4 โรคไม่ติดต่อ
ที่กล่าวมานั้น แต่ยังเป็นสาเหตุสำคัญของการเกิดโรคไตเรื้อรัง (Chronickidney disease: CKD)
โดยร้อยละ 40 ของผู้ป่วยเบาหวาน และ ร้อยละ 20ของผู้ป่วย ความดันโลหิตสูง
มีโอกาสเกิดไตเรื้อรังได้ในอนาคตต่อไปและยังมีรายงานว่าทั่วโลก มีผู้ที่มีความดันโลหิตสูงมากถึงกว่า
1,000 ล้านคนโดย2 ใน 3 เป็นประชากร ในประเทศกำลังพัฒนาและได้คาดการณ์ว่าในปีพ.ศ.2568(ค.ศ. 2025)
ประชากรวัยผู้ใหญ่ทั่วทั้งโลกจะป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูง 1.56 พันล้านคนเบาหวาน เป็นโรคเรื้อรังที่เป็นปัญหาสาธารณสุขทั่วโลก รวมทั้งประเทศไทย
เนื่องจากมีความชุกและอุบัติการณ์ของโรคเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง จากการประเมิน
สถานการณ์ผู้ป่วยเบาหวานของ สหพันธ์เบาหวานนานาชาติ (International Diabetes Federation: IDF, 2011)
พบว่า มีผู้ป่วยเบาหวานทั่วโลกในปี พ.ศ. 2553จำานวน 366 ล้านคน หรือประมาณ ร้อยละ 8.3
ของประชากรวัยผู้ใหญ่ทั่วโลกมีผู้เสียชีวิต จากโรคเบาหวานถึง 4.6 ล้านคน
และคาดว่าจะมีผู้ป่วยเพิ่มขึ้นเป็น552 ล้านคนใน ปี พ.ศ. 2573 ซึ่งหมายถึง มีมากกว่า 3 คน
ที่ถูกวินิจฉัยว่า เป็นโรคเบาหวานในทุกๆ 10 วินาที สำาหรับประเทศไทยพบว่า
อัตราป่วยด้วยโรคเบาหวานได้เพิ่มขึ้นจาก 277.7
ต่อประชากรแสนคนในปี พ.ศ. 2544 เป็น 954.2 ต่อประชากรแสนคนในปี พ.ศ. 2553
หรือเพิ่มขึ้นประมาณ 3.4 เท่าและโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงนอกจากเป็นสาเหตุการตายที่สำคัญ
ยังเป็นสาเหตุในการเกิดภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นตามระบบต่างๆ ของร่างกายที่สำคัญ
ได้แก่หลอดเลือดสมองและหัวใจตาไตและเท้าการดำเนินการป้องกันจึงเป็นสิ่งสำคัญที่ทุกคนต้องตระหนัก จากการตรวจคัดกรองประชาชนตำบลยะรัง พบว่า มีกลุ่มเสี่ยง จำนวน 25 คน
ในการนี้ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลยะรัง จึงได้จัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง และเบาหวาน ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1 เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
- กิจกรรมถอดบทเรียน และประกาศเกียรติคุณแก่ผู้ที่สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
25
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ถูกต้อง และสามารถถ่ายทอดความรู้ให้กับครอบครัวและชุมชนได้ต่อไป
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1 เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน
ตัวชี้วัด : กลุ่มเสี่ยงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมร้อยละ 70
25.00
18.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
25
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
25
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1 เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (2) กิจกรรมถอดบทเรียน และประกาศเกียรติคุณแก่ผู้ที่สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ในกลุมเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ชุมชนเทศบาลตำบลยะรัง ปี 2567 จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 67-L8286-1-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวนูรีซัน มะแซ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ในกลุมเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ชุมชนเทศบาลตำบลยะรัง ปี 2567 ”
ตำบลยะรัง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางสาวนูรีซัน มะแซ
กันยายน 2567
ที่อยู่ ตำบลยะรัง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 67-L8286-1-02 เลขที่ข้อตกลง 04/67
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ในกลุมเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ชุมชนเทศบาลตำบลยะรัง ปี 2567 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยะรัง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลยะรัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ในกลุมเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ชุมชนเทศบาลตำบลยะรัง ปี 2567
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ในกลุมเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ชุมชนเทศบาลตำบลยะรัง ปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลยะรัง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 67-L8286-1-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 22,750.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลยะรัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันทั่วโลกให้ความสำคัญกับการจัดการโรคไม่ติดต่อเรื้อรังมากขึ้น เนื่องจากสภาวะความเป็นอยู่และวิถีชีวิตที่เปลี่ยนไปทำให้ผู้ป่วยกลุ่มนี้มีจำานวนเพิ่มมาก โดยเฉพาะใน 4 โรคสำคัญคือโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD), โรคเบาหวาน, โรคมะเร็ง และโรคทางเดินหายใจเรื้อรังเป็น4โรคไม่ติดต่อสำคัญที่เป็นภัยเงียบคร่าชีวิตประชากร ทั่วโลกถึงร้อยละ 85 ของการเสียชีวิตจากกลุ่มโรคไม่ติดต่อทั้งหมด โดยเฉพาะภาวะความดันโลหิตสูงนั้น ไม่เพียงแต่นำไปสู่ทั้ง 4 โรคไม่ติดต่อ ที่กล่าวมานั้น แต่ยังเป็นสาเหตุสำคัญของการเกิดโรคไตเรื้อรัง (Chronickidney disease: CKD) โดยร้อยละ 40 ของผู้ป่วยเบาหวาน และ ร้อยละ 20ของผู้ป่วย ความดันโลหิตสูง มีโอกาสเกิดไตเรื้อรังได้ในอนาคตต่อไปและยังมีรายงานว่าทั่วโลก มีผู้ที่มีความดันโลหิตสูงมากถึงกว่า 1,000 ล้านคนโดย2 ใน 3 เป็นประชากร ในประเทศกำลังพัฒนาและได้คาดการณ์ว่าในปีพ.ศ.2568(ค.ศ. 2025) ประชากรวัยผู้ใหญ่ทั่วทั้งโลกจะป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูง 1.56 พันล้านคนเบาหวาน เป็นโรคเรื้อรังที่เป็นปัญหาสาธารณสุขทั่วโลก รวมทั้งประเทศไทย เนื่องจากมีความชุกและอุบัติการณ์ของโรคเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง จากการประเมิน สถานการณ์ผู้ป่วยเบาหวานของ สหพันธ์เบาหวานนานาชาติ (International Diabetes Federation: IDF, 2011) พบว่า มีผู้ป่วยเบาหวานทั่วโลกในปี พ.ศ. 2553จำานวน 366 ล้านคน หรือประมาณ ร้อยละ 8.3 ของประชากรวัยผู้ใหญ่ทั่วโลกมีผู้เสียชีวิต จากโรคเบาหวานถึง 4.6 ล้านคน และคาดว่าจะมีผู้ป่วยเพิ่มขึ้นเป็น552 ล้านคนใน ปี พ.ศ. 2573 ซึ่งหมายถึง มีมากกว่า 3 คน ที่ถูกวินิจฉัยว่า เป็นโรคเบาหวานในทุกๆ 10 วินาที สำาหรับประเทศไทยพบว่า อัตราป่วยด้วยโรคเบาหวานได้เพิ่มขึ้นจาก 277.7 ต่อประชากรแสนคนในปี พ.ศ. 2544 เป็น 954.2 ต่อประชากรแสนคนในปี พ.ศ. 2553 หรือเพิ่มขึ้นประมาณ 3.4 เท่าและโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงนอกจากเป็นสาเหตุการตายที่สำคัญ ยังเป็นสาเหตุในการเกิดภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นตามระบบต่างๆ ของร่างกายที่สำคัญ ได้แก่หลอดเลือดสมองและหัวใจตาไตและเท้าการดำเนินการป้องกันจึงเป็นสิ่งสำคัญที่ทุกคนต้องตระหนัก จากการตรวจคัดกรองประชาชนตำบลยะรัง พบว่า มีกลุ่มเสี่ยง จำนวน 25 คน ในการนี้ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลยะรัง จึงได้จัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง และเบาหวาน ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1 เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
- กิจกรรมถอดบทเรียน และประกาศเกียรติคุณแก่ผู้ที่สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 25 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ถูกต้อง และสามารถถ่ายทอดความรู้ให้กับครอบครัวและชุมชนได้ต่อไป
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1 เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ตัวชี้วัด : กลุ่มเสี่ยงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมร้อยละ 70 |
25.00 | 18.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 25 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 25 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1 เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (2) กิจกรรมถอดบทเรียน และประกาศเกียรติคุณแก่ผู้ที่สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ในกลุมเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ชุมชนเทศบาลตำบลยะรัง ปี 2567 จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 67-L8286-1-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวนูรีซัน มะแซ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......