กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลแม่ขรี


“ โครงการนวัตกรรมธงสามสีควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกและการจัดการสิ่งแวดล้อมในชุมชนต้นแบบปี2567 ”



หัวหน้าโครงการ
นายวิชัย สว่างวัน

ชื่อโครงการ โครงการนวัตกรรมธงสามสีควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกและการจัดการสิ่งแวดล้อมในชุมชนต้นแบบปี2567

ที่อยู่ จังหวัด

รหัสโครงการ 67-L7575-01-03 เลขที่ข้อตกลง 11/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 31 มกราคม 2567 ถึง 16 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการนวัตกรรมธงสามสีควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกและการจัดการสิ่งแวดล้อมในชุมชนต้นแบบปี2567 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลแม่ขรี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการนวัตกรรมธงสามสีควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกและการจัดการสิ่งแวดล้อมในชุมชนต้นแบบปี2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการนวัตกรรมธงสามสีควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกและการจัดการสิ่งแวดล้อมในชุมชนต้นแบบปี2567 " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ 67-L7575-01-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 31 มกราคม 2567 - 16 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,700.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลแม่ขรี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ) โรคไข้เลือดออก (Dengue Hemorrhagic Fever-DHF) เกิดจากเชื้อไวรัสเดงกีมียุงลายเป็นพาหะนำโรค โดยเริ่มระบาดในประเทศไทยครั้งแรกเมื่อปีพ.ศ. 2501 ในกรุงเทพมหานคร โดยมีการระบาดเพิ่มมากขึ้นทั่วทุกพื้นที่ ของประเทศไทย จนกลายเป็นปัญหาสาธารณสุขของประเทศไทยในปัจจุบัน (เตือนใจ ลับโกษา 2559) ซึ่งสถานการณ์การระบาดในประเทศไทยมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นในทุกๆปี อย่างต่อเนื่อง จากการวิเคราะห์ความเสี่ยงของการระบาดของโรคในชุมชนนั้นสามารถวิเคราะห์ได้จากค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย กล่าวคือ ชุมชนที่พบดัชนีค่าลูกน้ำยุงลายสูง แสดงถึง ค่าความเสี่ยงที่จะเกิดการระบาดของโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ได้ และประชาชนในพื้นที่ชุมชนมีความเสี่ยงต่อการได้รับเชื้อไข้เลือดออก การแพร่ของโรคอยู่ในระดับสูง ทำให้ในชุมชนมีโอกาสเกิดการระบาดของโรคไข้เลือดออกสูง การเกิดโรคไข้เลือดออก นอกจากจะส่งผลต่อการเจ็บป่วยและเสียชีวิตของประชาชนแล้ว ยังส่งผลต่อการรักษาและค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล รวมทั้งภาระค่าใช้จ่ายของรัฐ ในการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกเนื่องจากที่ผ่านมาการป้องกันโรคไข้เลือดออกเป็นการดำเนินงานของ หน่วยงานสาธารณสุขเป็นส่วนใหญ่ ซึ่งสามารถลดระดับความชุกชุมของยุงลายได้เพียงระยะเวลาสั้นๆ และ แนวโน้มของสถานการณ์ของโรคกลับเพิ่มมากขึ้น สำหรับพื้นที่เทศบาลตำบลแม่ขรี ในพื้นที่ ม.1 และ หมู่ 6 มีจำนวนประชากรทั้งหมด 6,781 ราย 2,514 ครัวเรือน สถานที่บริการสาธารณสุขมีจำนวน 1 แห่ง คือ โรงพยาบาลตะโหมด มีเจ้าหน้าที่ทั้งหมด 155 คน มีอาสาสมัครสาธารณสุขจำนวน 90 ราย ลักษณะพื้นที่เป็นออกเป็น 2 หมู่บ้านคือหมู่ที่ 1 และหมู่ที่ 6 โดยแบ่งออกเป็น 8 ชุมชนหลัก พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นชุมชนเขตกึ่งเมือง ประชากรส่วนใหญ่ประกาศอาชีพค้าขาย รองลงมาอาชีพเกษตรกร พื้นที่พบอุบัติการณ์การเกิดโรคไข้เลือดออกสูง ส่วนใหญ่พื้นเป็นพื้นที่เขตชุมชนชนบท สำหรับปัจจัยที่ส่งผลต่อการระบาดอย่างต่อเนื่องในพื้นที่ พบว่าส่วนใหญ่พื้นที่ทั้ง 4 หมู่บ้าน เป็นชุมชนชนบท จากสถานการณ์โรคไข้เลือดออกตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2567 ถึง 13 กุมภาพันธ์ 2567 พบผู้ป่วยในพื้นที่ หมู่ที่ 1 ชุมชนธงชัย จำนวน 4 ราย ซึ่งกรณีพบผู้ป่วยไข้เลือดออกในพื้นที่ไม่สามารถลงควบคุมโรคได้ในทุกหลังคาเรือน ที่ห่างจากรัศมีจากบ้านผู้ป่วย 100 เมตร เพราะฉะนั้นการดำเนินการป้องกันและควบคุมโรคไม่ทั่วถึงในทุกพื้นที่ จึงส่งผลให้การระบาดของโรคไข้เลือดออกในพื้นที่เขตชุมชนเมืองมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น กลุ่มงานบริการด้านปฐมภูมิและองค์รวมโรงพยาบาลตะโหมด จึงเล็งเห็นปัญหาของการระบาดของโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ จึงได้จัดโครงการนวัตกรรมธงสามสีควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกและการจัดการสิ่งแวดล้อมในชุมชนต้นแบบ เพื่อวิเคราะห์สภาพปัญหาและพัฒนารูปแบบการนำนวัตกรรมธงสามสีมาใช้ในการป้องกันโรคไข้เลือดออกให้มีประสิทธิภาพเป็นระบบอย่างต่อเนื่อง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1 เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกของประชาชนทุกกลุ่มอายุในชุมชนธงชัย
  2. 2 เพื่อสร้างความร่วมมือในการปรับปรุงสภาพแวดล้อมที่อยู่อาศัยให้สะอาด

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1.ขั้นเตรียม
  2. 2.ขั้นดำเนินการ
  3. 3.ขั้นสรุป

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 30
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกเมื่อเปรียบเทียบค่ามัธฐาน 5 ปีย้อนหลัง ไม่เกินร้อยละ 20 ในพื้นที่ชุมชนธงชัย ประชาชนได้รับความรู้การคัดแยกขยะในพื้นที่ ร้อยละ 80


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1 เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกของประชาชนทุกกลุ่มอายุในชุมชนธงชัย
ตัวชี้วัด : ลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก และไม่เกิดการระบาดของโรคไข้เลือดออกให้พื้นที่
0.00

 

2 2 เพื่อสร้างความร่วมมือในการปรับปรุงสภาพแวดล้อมที่อยู่อาศัยให้สะอาด
ตัวชี้วัด : ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในชุมชน ไม่เกิน 10
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 30
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1 เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกของประชาชนทุกกลุ่มอายุในชุมชนธงชัย (2) 2 เพื่อสร้างความร่วมมือในการปรับปรุงสภาพแวดล้อมที่อยู่อาศัยให้สะอาด

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.ขั้นเตรียม (2) 2.ขั้นดำเนินการ (3) 3.ขั้นสรุป

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการนวัตกรรมธงสามสีควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกและการจัดการสิ่งแวดล้อมในชุมชนต้นแบบปี2567 จังหวัด

รหัสโครงการ 67-L7575-01-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายวิชัย สว่างวัน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด