กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งพลา


“ โครงการชุมชนทุ่งพลาเรียนรู้เท่าทันโรคติดต่อที่สามารถป้องกันด้วยวัคซีน ในเด็ก 0 – 5 ปี ประจำปี 2567 ”

ตำบลทุ่งพลา อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นายปรีชา กาฬแก้ว

ชื่อโครงการ โครงการชุมชนทุ่งพลาเรียนรู้เท่าทันโรคติดต่อที่สามารถป้องกันด้วยวัคซีน ในเด็ก 0 – 5 ปี ประจำปี 2567

ที่อยู่ ตำบลทุ่งพลา อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 67-L2979-1-04 เลขที่ข้อตกลง 67-L2979-1-04

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการชุมชนทุ่งพลาเรียนรู้เท่าทันโรคติดต่อที่สามารถป้องกันด้วยวัคซีน ในเด็ก 0 – 5 ปี ประจำปี 2567 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งพลา อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งพลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการชุมชนทุ่งพลาเรียนรู้เท่าทันโรคติดต่อที่สามารถป้องกันด้วยวัคซีน ในเด็ก 0 – 5 ปี ประจำปี 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการชุมชนทุ่งพลาเรียนรู้เท่าทันโรคติดต่อที่สามารถป้องกันด้วยวัคซีน ในเด็ก 0 – 5 ปี ประจำปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งพลา อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 67-L2979-1-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,050.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งพลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนในชุมชน เป็นสิ่งสำคัญในการสร้างภูมิคุ้มกันโรคในชุมชน ต่อโรคติดต่อที่สามารถป้องกันโดยวัคซีน ที่ผ่านมาจะพบว่า 3 จังหวัดชายแดนใต้ มีความครอบคลุมวัคซีนที่ต่ำกว่าเกณฑ์ และพบว่าในช่วงเดือน สิงหาคมพ.ศ.2666 มีเด็กแรกเกิด อายุ 18 วัน อาศัยอยู่ที่อำเภอหนองจิก คลอดที่รพ.ปัตตานี ติดเชื้อไอกรนเสียชีวิต ซึ่งเด็กได้รับเชื้อก่อนช่วงวัยที่ต้องได้รับวัคซีน วัคซีนป้องกันไอกรน จะเริ่มฉีดครั้งแรกเมื่อเด็กอายุ 2 เดือน จากเหตุการณ์ สามารถสังเกต และคาดการณ์ว่าเด็กอาจจะสัมผัสผู้ป่วยที่รับเชื้อไอกรน จากการลวสอบสวนโรค ไม่มีคนในครอบครัวป่วยเป็นโรคไอกรน โรคไอกรนสามารถพบได้ในทุกช่วงอายุ แต่มักไม่พบในเด็กที่มีอายุต่ำกว่า 1 ปี เนื่องจากเด็กในช่วงอายุนี้ได้ภูมิคุ้มกันต้านทานโรคจากแม่แล้วและมีโอกาสสัมผัสโรคน้อย ในประเทศที่ยังไม่พัฒนามักจะพบโรคไอกรนในเด็กเล็กได้มาก อาจเป็นเพราะเด็กอาจยังไม่ได้รับวัคซีนป้องกันโรคนั่นเอง แต่ในประเทศที่พัฒนาแล้วจะพบอุบัติการณ์ของโรคไอกรนได้น้อย ซึ่งวัคซีนขั้นพื้นฐานทุกชนิด และข้อมูล ณ วันที่ 14 พฤศจิกายน 2566 จากสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดปัตตานี พบว่ามีการระบาดของโรคไอกรน มีผู้ป่วยจำนวน 44 รายทั้งจังหวัด เสียชีวิต 1 ราย อำเภอโคกโพธิ์ ไม่พบผู้ป่วย และเสียชีวิต แต่ทั้งนี้ก็ต้องฉีดวัคซีนเด็กอายุ 0 – 5 ปีให้ครอบคลุมมากที่สุด จากการแก้ปัญหาเรื่องวัคซีนที่ผ่านมา มีอัตราการฉีดวัคซีนเพิ่มขึ้น ในปีงบประมาณ 2566 พบเด็กตำบลทุ่งพลา ได้รับวัคซีนทุกชนิดครบตามเกณฑ์อายุ 1 ปี คิดเป็นร้อยละ 66.67 ได้รับวัคซีนทุกชนิดครบตามเกณฑ์อายุ 2 ปี คิดเป็นร้อยละ 66.67 ได้รับวัคซีนทุกชนิดครบตามเกณฑ์อายุ 3 ปี คิดเป็นร้อยละ 56.41 ได้รับวัคซีนทุกชนิดครบตามเกณฑ์อายุ 4 ปี คิดเป็นร้อยละ 56.41 (ข้อมูล HDC จะงหวัดปัตตานี) แต่การจะสร้างภูมิคุ้มกันได้ดีต้องมีภูมิคุ้มกันชุมชน ที่ร้อยละ 95 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งพลา อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี มีเขตพื้นที่รับผิดชอบจำนวน 5 หมู่บ้าน อยู่ในเขตการปกครองของ อบต.ทุ่งพลา จากรายงานการเฝ้าระวังโรค ของสำนักระบาดวิทยาในระยะเวลา 3 ปีที่ผ่านมา (พ.ศ. 2563-2565) และ ในปี 2566 ล่าสุด ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2566 พบว่า ไม่พบผู้ป่วยด้วยโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน จากการสำรวจ สอบถามและวิเคราะห์ข้อมูล พบว่าเด็กหมู่ที่ 1 และ 3 มีอัตราขาดนัด และปฏิเสธวัคซีนมากที่สุด สามารถสรุปปัญหาได้ดังนี้ 1. วัคซีนไม่จำเป็นต้องฉีด เพราะไม่ฉีดลูกก็ไม่ป่วย 2. ไม่เห็นความสำคัญในการควบคุมโรคติดต่อ 3.ลืมวันนัดที่ต้องฉีดวัคซีน 4.ปู่ ย่า ตา ยาย มีอิทธิพล ไม่อยากให้พามาฉีดวัคซีน 5.การเสพสื่อ Social ในทางที่ผิดเรื่องการรับวัคซีน ดังนั้นทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งพลา จึงเห็นความสำคัญในการเสริมสร้างซักซ้อมความเข้าใจเรื่องวัคซีนในผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปี และผู้นำชุมชน โดยการมีส่วนร่วมของเครือข่ายสุขภาพ เพื่อรับบริการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีน จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเพิ่มการได้รับฉีดวัคซีนครบตามหลักเกณฑ์เด็กเล็ก(0-3 ปี) ขึ้น
  2. เพื่อให้แกนนำชุมชนเข้ามีส่วนร่วม และแก้ไขปัญหาร่วมกัน
  3. เพื่อพัฒนาทักษะเครือข่ายสาธารณสุขความรู้เรื่องการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคแกนนำชุมชน และผู้ปกครอง
  2. รณรงค์เชิญชวนพาบุตรหลานมาสร้างภูมิคุ้มกันโรคให้ครอบคลุม

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 25
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 53
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. แกนนำชุมชนมีส่วนร่วมในงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
  2. ความครอบคลุมวัคซีนในเด็กแรกเกิด – 5 ปี เพิ่มขึ้น
  3. แกนนำชุมชน มีความรู้เรื่องการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคและสามารถถ่ายทอดความรู้สู่ชุมชน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเพิ่มการได้รับฉีดวัคซีนครบตามหลักเกณฑ์เด็กเล็ก(0-3 ปี) ขึ้น
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กเล็ก(0-3 ปี) ได้รับฉีดวัคซีนครบตามหลักเกณฑ์
75.00 95.00

 

2 เพื่อให้แกนนำชุมชนเข้ามีส่วนร่วม และแก้ไขปัญหาร่วมกัน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของกลุ่มเป้าหมายมีความเข้าใจ มีแนวทางการดำเนินงานวัคซีนร่วมกัน
0.00 100.00

 

3 เพื่อพัฒนาทักษะเครือข่ายสาธารณสุขความรู้เรื่องการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
ตัวชี้วัด : เกิดชุมชนต้นแบบ งานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ชุมชนปลอดโรคที่สามารถป้องกันด้วยวัคซีน ร้อยละ 100
0.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 78
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 25
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 0
กลุ่มวัยทำงาน 53
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มการได้รับฉีดวัคซีนครบตามหลักเกณฑ์เด็กเล็ก(0-3 ปี) ขึ้น (2) เพื่อให้แกนนำชุมชนเข้ามีส่วนร่วม และแก้ไขปัญหาร่วมกัน (3) เพื่อพัฒนาทักษะเครือข่ายสาธารณสุขความรู้เรื่องการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคแกนนำชุมชน และผู้ปกครอง (2) รณรงค์เชิญชวนพาบุตรหลานมาสร้างภูมิคุ้มกันโรคให้ครอบคลุม

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการชุมชนทุ่งพลาเรียนรู้เท่าทันโรคติดต่อที่สามารถป้องกันด้วยวัคซีน ในเด็ก 0 – 5 ปี ประจำปี 2567 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 67-L2979-1-04

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายปรีชา กาฬแก้ว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด