โครงการคัดกรองวัณโรคด้วยวาจาในกลุ่มเสี่ยง ปีงบประมาณ 2567
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการคัดกรองวัณโรคด้วยวาจาในกลุ่มเสี่ยง ปีงบประมาณ 2567 ”
ตำบลท่านั่ง อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร
หัวหน้าโครงการ
นางศศิรัตน์ สะราคำ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่านั่ง
สิงหาคม 2567
ชื่อโครงการ โครงการคัดกรองวัณโรคด้วยวาจาในกลุ่มเสี่ยง ปีงบประมาณ 2567
ที่อยู่ ตำบลท่านั่ง อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร จังหวัด พิจิตร
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2566 ถึง 31 สิงหาคม 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการคัดกรองวัณโรคด้วยวาจาในกลุ่มเสี่ยง ปีงบประมาณ 2567 จังหวัดพิจิตร" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่านั่ง อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่านั่ง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการคัดกรองวัณโรคด้วยวาจาในกลุ่มเสี่ยง ปีงบประมาณ 2567
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการคัดกรองวัณโรคด้วยวาจาในกลุ่มเสี่ยง ปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่านั่ง อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2566 - 31 สิงหาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 8,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่านั่ง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากข้อมูลองค์การอนามัยโลกได้คาดการณ์ปัญหาวัณโรคของประเทศไทย น่าจะมีผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ทุกประเภท ปีละ 101,000 ราย (อุบัติการณ์ 143 ต่อแสนประชากร) พบผู้ป่วยวัณโรคที่มีการติดเชื้อเอชไอวีร่วมด้วย 15,000 ราย เสียชีวิตปีละ 7,400 ราย และคาดประมาณปัญหา วัณโรคดื้อยาหลายขนานปีละ 1,100 ราย วัณโรคเป็นโรคติดต่อที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรียสามารถติดต่อได้ด้วยระบบทางเดินหายใจและติดต่อจากคนสู่คน พบได้ทั่วไปแต่จะพบมากที่สุดในกลุ่มเสี่ยงที่อยู่บ้านเดียวกับผู้ป่วย ผู้ติดเชื้อเอชไอวี ผู้สูงอายุที่อายุมากกว่า 65 ปีที่สูบบุหรี่ หรือโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังร่วมกับโรคเบาหวาน ผู้ป่วยเบาหวาน โรคไตเรื้อรังที่รับยากดภูมิคุ้มกัน โรคปอดฝุ่นหิน ประชากรกลุ่มเสี่ยงและด้อยโอกาส เช่น ชุมชนแออัด นักโทษในเรือนจำ สถานสงเคราะห์ บ้านพักคนพิการ คนไร้ที่พึ่ง ผู้ใช้สารเสพติด แรงงานต่างด้าว และบุคลากรสาธารณสุข สำหรับผู้ที่รับเชื้อวัณโรคเข้าสู่ร่างกาย จะไม่แสดงอาการป่วยในทันทีแต่จะแสดงอาการเมื่อร่างกายอ่อนแอ ซึ่งเชื้อวัณโรคสามารถเกิดได้กับทุกส่วนของร่างกาย แต่ส่วนใหญ่ร้อยละ 80 พบที่ปอดนอกจากนี้ยังพบได้ที่อวัยวะอื่น ๆ เช่น ต่อมน้ำเหลือง กระดูก เยื่อหุ้มสมอง เป็นต้น สำหรับเชื้อวัณโรคสามารถแพร่กระจายโดยผู้ป่วยจะมีอาการไอ จาม ทำให้ละอองเสมหะฟุ้งกระจายล่องลอยอยู่ในอากาศ จะมีอาการไอเรื้อรังโดยเฉพาะตอนเย็นและค่ำ มีเหงื่อออกในตอนกลางคืนถึงแม้อากาศเย็น มีอาการไอเรื้อรังเกิน 2 สัปดาห์ ช่วงแรกจะไอแห้ง ๆ ต่อมา มีเสมหะออกมา บางครั้งมีเลือดปนเสมหะออกมาด้วย การรักษาวัณโรคสามารถรักษาให้หายขาดได้ด้วยการกินยาอย่างน้อย 6 – 8 เดือน และสิ่งที่สำคัญคือการกินยาตามแพทย์สั่งอย่างต่อเนื่อง ไม่หยุดการรักษาหรือหยุดยาก่อนกำหนด ตลอดจนถึงการให้กำลังใจและไม่ทอดทิ้งผู้ป่วย จะทำให้ผู้ป่วยสามารถเอาชนะวัณโรคได้ ผู้ป่วยควรงดเหล้า บุหรี่ และปิดปาก จมูก เวลาไอ จาม บ้วนเสมหะลงในภาชนะที่มีฝาปิดมิดชิดและทำลายโดยการเผา เพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้อโรค สำหรับ สถานการณ์วัณโรคประเทศไทยปี 2565 มีผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ 103,000 รายต่อปี และมีการเสียชีวิตจากวัณโรคกว่า 12,000 รายต่อปี (ข้อมูลสำนักงานสสจ.สงขลา ณ 17 มีนาคม 2566)
จากสถานการณ์ปัญหาวัณโรคในตำบลท่านั่ง มีจำนวนผู้ป่วย ตั้งแต่ปี 2552-2566 จำนวน 33 ราย เป็นเพศหญิง จำนวน 16 รายคิดเป็นร้อยละ48เพศชาย จำนวน 17 ราย คิดเป็นร้อยละ 51 เป็นผู้สูงอายุ จำนวน 26 ราย คิดเป็นร้อยละ 78 และตั้งแต่ปี 2562-2566 มีผู้ป่วยด้วยโรควัณโรค เสียชีวิตด้วยโรค จำนวน 3 ราย ดังนั้นเพื่อเป็นการค้นหาผู้ป่วยรายใหม่ โดยผู้ป่วยจะได้รับการรักษาเร็วขึ้นตั้งแต่ระยะเริ่มแรก สามารถลดอัตราการเสียชีวิตและลดการแพร่กระจายเชื้อได้ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่านั่ง เล็งเห็นความสำคัญของการคัดกรองวัณโรค จึงได้จัดทำโครงการคัดกรองวัณโรคด้วยวาจาในกลุ่มเสี่ยงนี้ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- จัดทำแผนงานโครงการเพื่อเสนอข้ออนุมัติ
- กิจกรรม จัดเตรียมเอกสารและวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการดำเนินโครงการ
- อบรมความรู้ในการป้องกัน และการดูแลรักษาวัณโรค
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
80
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ผู้ป่วยรายใหม่ได้รักษาอย่างรวดเร็วถูกต้องตามสภาวะโรค ประชาชนสามารถประเมินสภาวะสุขภาพของตนเองได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
80
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
80
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดทำแผนงานโครงการเพื่อเสนอข้ออนุมัติ (2) กิจกรรม จัดเตรียมเอกสารและวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการดำเนินโครงการ (3) อบรมความรู้ในการป้องกัน และการดูแลรักษาวัณโรค
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการคัดกรองวัณโรคด้วยวาจาในกลุ่มเสี่ยง ปีงบประมาณ 2567 จังหวัด พิจิตร
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางศศิรัตน์ สะราคำ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการคัดกรองวัณโรคด้วยวาจาในกลุ่มเสี่ยง ปีงบประมาณ 2567 ”
ตำบลท่านั่ง อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร
หัวหน้าโครงการ
นางศศิรัตน์ สะราคำ
สิงหาคม 2567
ที่อยู่ ตำบลท่านั่ง อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร จังหวัด พิจิตร
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2566 ถึง 31 สิงหาคม 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการคัดกรองวัณโรคด้วยวาจาในกลุ่มเสี่ยง ปีงบประมาณ 2567 จังหวัดพิจิตร" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่านั่ง อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่านั่ง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการคัดกรองวัณโรคด้วยวาจาในกลุ่มเสี่ยง ปีงบประมาณ 2567
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการคัดกรองวัณโรคด้วยวาจาในกลุ่มเสี่ยง ปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่านั่ง อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2566 - 31 สิงหาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 8,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่านั่ง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากข้อมูลองค์การอนามัยโลกได้คาดการณ์ปัญหาวัณโรคของประเทศไทย น่าจะมีผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ทุกประเภท ปีละ 101,000 ราย (อุบัติการณ์ 143 ต่อแสนประชากร) พบผู้ป่วยวัณโรคที่มีการติดเชื้อเอชไอวีร่วมด้วย 15,000 ราย เสียชีวิตปีละ 7,400 ราย และคาดประมาณปัญหา วัณโรคดื้อยาหลายขนานปีละ 1,100 ราย วัณโรคเป็นโรคติดต่อที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรียสามารถติดต่อได้ด้วยระบบทางเดินหายใจและติดต่อจากคนสู่คน พบได้ทั่วไปแต่จะพบมากที่สุดในกลุ่มเสี่ยงที่อยู่บ้านเดียวกับผู้ป่วย ผู้ติดเชื้อเอชไอวี ผู้สูงอายุที่อายุมากกว่า 65 ปีที่สูบบุหรี่ หรือโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังร่วมกับโรคเบาหวาน ผู้ป่วยเบาหวาน โรคไตเรื้อรังที่รับยากดภูมิคุ้มกัน โรคปอดฝุ่นหิน ประชากรกลุ่มเสี่ยงและด้อยโอกาส เช่น ชุมชนแออัด นักโทษในเรือนจำ สถานสงเคราะห์ บ้านพักคนพิการ คนไร้ที่พึ่ง ผู้ใช้สารเสพติด แรงงานต่างด้าว และบุคลากรสาธารณสุข สำหรับผู้ที่รับเชื้อวัณโรคเข้าสู่ร่างกาย จะไม่แสดงอาการป่วยในทันทีแต่จะแสดงอาการเมื่อร่างกายอ่อนแอ ซึ่งเชื้อวัณโรคสามารถเกิดได้กับทุกส่วนของร่างกาย แต่ส่วนใหญ่ร้อยละ 80 พบที่ปอดนอกจากนี้ยังพบได้ที่อวัยวะอื่น ๆ เช่น ต่อมน้ำเหลือง กระดูก เยื่อหุ้มสมอง เป็นต้น สำหรับเชื้อวัณโรคสามารถแพร่กระจายโดยผู้ป่วยจะมีอาการไอ จาม ทำให้ละอองเสมหะฟุ้งกระจายล่องลอยอยู่ในอากาศ จะมีอาการไอเรื้อรังโดยเฉพาะตอนเย็นและค่ำ มีเหงื่อออกในตอนกลางคืนถึงแม้อากาศเย็น มีอาการไอเรื้อรังเกิน 2 สัปดาห์ ช่วงแรกจะไอแห้ง ๆ ต่อมา มีเสมหะออกมา บางครั้งมีเลือดปนเสมหะออกมาด้วย การรักษาวัณโรคสามารถรักษาให้หายขาดได้ด้วยการกินยาอย่างน้อย 6 – 8 เดือน และสิ่งที่สำคัญคือการกินยาตามแพทย์สั่งอย่างต่อเนื่อง ไม่หยุดการรักษาหรือหยุดยาก่อนกำหนด ตลอดจนถึงการให้กำลังใจและไม่ทอดทิ้งผู้ป่วย จะทำให้ผู้ป่วยสามารถเอาชนะวัณโรคได้ ผู้ป่วยควรงดเหล้า บุหรี่ และปิดปาก จมูก เวลาไอ จาม บ้วนเสมหะลงในภาชนะที่มีฝาปิดมิดชิดและทำลายโดยการเผา เพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้อโรค สำหรับ สถานการณ์วัณโรคประเทศไทยปี 2565 มีผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ 103,000 รายต่อปี และมีการเสียชีวิตจากวัณโรคกว่า 12,000 รายต่อปี (ข้อมูลสำนักงานสสจ.สงขลา ณ 17 มีนาคม 2566) จากสถานการณ์ปัญหาวัณโรคในตำบลท่านั่ง มีจำนวนผู้ป่วย ตั้งแต่ปี 2552-2566 จำนวน 33 ราย เป็นเพศหญิง จำนวน 16 รายคิดเป็นร้อยละ48เพศชาย จำนวน 17 ราย คิดเป็นร้อยละ 51 เป็นผู้สูงอายุ จำนวน 26 ราย คิดเป็นร้อยละ 78 และตั้งแต่ปี 2562-2566 มีผู้ป่วยด้วยโรควัณโรค เสียชีวิตด้วยโรค จำนวน 3 ราย ดังนั้นเพื่อเป็นการค้นหาผู้ป่วยรายใหม่ โดยผู้ป่วยจะได้รับการรักษาเร็วขึ้นตั้งแต่ระยะเริ่มแรก สามารถลดอัตราการเสียชีวิตและลดการแพร่กระจายเชื้อได้ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่านั่ง เล็งเห็นความสำคัญของการคัดกรองวัณโรค จึงได้จัดทำโครงการคัดกรองวัณโรคด้วยวาจาในกลุ่มเสี่ยงนี้ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- จัดทำแผนงานโครงการเพื่อเสนอข้ออนุมัติ
- กิจกรรม จัดเตรียมเอกสารและวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการดำเนินโครงการ
- อบรมความรู้ในการป้องกัน และการดูแลรักษาวัณโรค
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 80 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ผู้ป่วยรายใหม่ได้รักษาอย่างรวดเร็วถูกต้องตามสภาวะโรค ประชาชนสามารถประเมินสภาวะสุขภาพของตนเองได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย |
---|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 80 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 80 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดทำแผนงานโครงการเพื่อเสนอข้ออนุมัติ (2) กิจกรรม จัดเตรียมเอกสารและวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการดำเนินโครงการ (3) อบรมความรู้ในการป้องกัน และการดูแลรักษาวัณโรค
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการคัดกรองวัณโรคด้วยวาจาในกลุ่มเสี่ยง ปีงบประมาณ 2567 จังหวัด พิจิตร
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางศศิรัตน์ สะราคำ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......