กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนกาหลง


“ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการในการคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก ประจำปี 2567 (ประเภทที่ 1) ”

ตำบลควนกาหลง อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นายวีรวัฒน์ ล่าโยค

ชื่อโครงการ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการในการคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก ประจำปี 2567 (ประเภทที่ 1)

ที่อยู่ ตำบลควนกาหลง อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 17/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการในการคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก ประจำปี 2567 (ประเภทที่ 1) จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลควนกาหลง อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนกาหลง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการในการคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก ประจำปี 2567 (ประเภทที่ 1)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการในการคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก ประจำปี 2567 (ประเภทที่ 1) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลควนกาหลง อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 38,580.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนกาหลง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในปัจจุบันโรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก เป็นสาเหตุการตายอันดับหนึ่งของสตรีในประเทศไทย ซึ่งทำให้เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ เพราะทำให้เกิดการสูญเสียทรัพยากรบุคคลและสิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล ในขณะที่การป้องกันและการควบคุมโรคมะเร็งเต้านมนั้น กลุ่มเป้าหมายสามารถตรวจเต้านมด้วยตนเองได้ทุกเดือนหรือสามารถเข้ารับการตรวจคัดกรองได้โดยบุคลากรทางการแพทย์ตามสถานบริการสาธารณสุขที่อยู่ใกล้บ้านเป็นประจำทุกปี ในขณะที่การป้องกันและควบคุมโรคมะเร็งปากมดลูกนั้น สตรีกลุ่มเป้าหมายสามารถเข้ารับการตรวจคัดกรองได้ที่สถานบริการสาธารณสุขใกล้บ้าน นอกจากสะดวก รวดเร็วและก็ยังประหยัดค่าจ่าย ความจำเป็นที่ต้องตรวจคัดกรองเพื่อเป็นการตรวจหาเซลล์มะเร็งตั้งแต่อยู่ในระยะเริ่มแรกหรือในระยะก่อนเป็นมะเร็ง เพื่อเป็นการลดภาระค่าใช้จ่ายให้น้อยลงกว่าการรักษาในระยะลุกลาม โรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก สามารถดูแลและป้องกันการรักษาได้ในระยะแรกๆ การป้องกันที่ดีที่สุดคือ การค้นหาผู้ป่วยให้เร็วที่สุด ดังนั้นการให้ความรู้ การสร้างความตระหนักและการกระตุ้นให้เกิดกระแสการดูแลและการป้องกันตัวเองในระยะแรก เพื่อเป็นการส่งเสริมสุขภาพ ตลอดจนลดอัตราป่วยและตายของสตรีจากโรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก       สาธารณสุขไทยได้มีการตรวจหาเชื้อมะเร็งปากมดลูกแบบใหม่ เรียกว่า HPV DNA Test เป็นเทคนิคทางด้านชีวโมเลกุลที่จะตรวจหาตัวเชื้อ HPV ได้โดยตรง ทำให้สามารถตรวจหาระยะของโรคก่อนที่จะกลายเป็นมะเร็ง คือการตรวจในระดับโมเลกุล เพื่อหาเชื้อ HPV ความเสี่ยงสูงทั้ง 14 สายพันธุ์ ซึ่งเป็นสาเหตุของมะเร็งปากมดลูก ประมาณ 99% โดยมีวิธีการตรวจเหมือนตรวจภายใน คือเก็บเซลล์บริเวณตัวอย่างที่ปากมดลูกช่องคลอดด้านใน ส่งตรวจเหมือนวิธีการตรวจด้วยน้ำยา ซึ่งสามารถที่จะตรวจหาเซลล์และแยกน้ำยาเพื่อจะตรวจหาเชื้อ HPV DNA ได้ จากการดำเนินงานคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกในสตรีอายุ 30-70 ปี โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านกระทูน-พิปูนล้นเกล้ามีเป้าหมายสะสมที่จะต้องดำเนินการระหว่างปี ๒๕๖๓ – ๒๕๖๗ จำนวน 845 คน ระยะเวลาที่ผ่านมาได้ทำการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกแล้วจำนวน 366 คน ผลการตรวจผิดปกติ 6 คน ในปี ๒๕๖6 ดำเนินการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกจำนวน 169 คน พบผิดปกติเป็นมะเร็งปากมดลูกระยะที่ 1 จำนวน 2 คน และเสี่ยงมะเร็งปากมดลูก จำนวน 1 คน และสตรีที่ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วยเจ้าหน้าที่และด้วยตนเอง จำนวน 521 คน พบมีความผิดปกติจำนวน 10 คน และได้ทำการส่งต่อพบแพทย์ที่โรงพยาบาลเพื่อตรวจวินิจฉัยในลำดับต่อไป โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านกระทูน-พิปูนล้นเกล้า ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของการพัฒนาคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพอนามัยของกลุ่มสตรี จึงได้จัดทำโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการในการคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก ประจำปี 2567 เพื่อค้นหามะเร็งเต้านมและมะเร็งปากลดมูกในระยะเริ่มแรก เพื่อให้ครอบคลุมประชากรระดับหนึ่งซึ่งจะช่วยลดอัตราป่วยและอัตราตายด้วยโรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากลดมูกได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑. เพื่อให้ความรู้ความเข้าใจในการตรวจมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกแก่กลุ่มสตรีเป้าหมาย ๒. เพื่อคัดกรองเฝ้าระวังการเกิดมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกแก่กลุ่มสตรีที่มีอายุ ๓๐ – ๗๐ ปีในเขตพื้นที่เป้าหมาย 3.ส่งต่อพบแพทย์เพื่อรับการรักษาสตรีรายที่มีผลการตรวจผิดปกติ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 240
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. เพื่อให้ประชาชนหญิงอายุ ๓๐–70 ปี มีความรู้เกี่ยวกับโรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก
    2. เพื่อให้ประชาชนหญิงอายุ ๓๐–7๐ ปี กลุ่มเป้าหมายมีความรู้และทักษะในการดูแลตนเองอย่างเหมาะสม และสามารถตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วยตนเองได้อย่างถูกต้อง
    3. เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ 30-70 ปี ได้รับการตรวจ และในรายที่พบความผิดปกติ ได้รับการส่องต่อเพื่อการรักษาอย่างถูกต้องทุกราย

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 ๑. เพื่อให้ความรู้ความเข้าใจในการตรวจมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกแก่กลุ่มสตรีเป้าหมาย ๒. เพื่อคัดกรองเฝ้าระวังการเกิดมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกแก่กลุ่มสตรีที่มีอายุ ๓๐ – ๗๐ ปีในเขตพื้นที่เป้าหมาย 3.ส่งต่อพบแพทย์เพื่อรับการรักษาสตรีรายที่มีผลการตรวจผิดปกติ
    ตัวชี้วัด : ๑. ร้อยละ ๑๐๐ ของกลุ่มเป้าหมาย ได้รับคำแนะนำและมีความรู้ในเรื่องการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก ๒.ร้อยละ ๑๐๐ ของกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก ๓.ร้อยละ ๑๐๐ ของกลุ่มเป้าหมายที่ตรวจพบสิ่งผิดปกติได้รับการส่งต่อเพื่อพบแพทย์ ได้รับการรักษา ติดตามผลอย่างต่อเนื่อง

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 240
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 240
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อให้ความรู้ความเข้าใจในการตรวจมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกแก่กลุ่มสตรีเป้าหมาย  ๒. เพื่อคัดกรองเฝ้าระวังการเกิดมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกแก่กลุ่มสตรีที่มีอายุ ๓๐ – ๗๐ ปีในเขตพื้นที่เป้าหมาย 3.ส่งต่อพบแพทย์เพื่อรับการรักษาสตรีรายที่มีผลการตรวจผิดปกติ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการในการคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก ประจำปี 2567 (ประเภทที่ 1) จังหวัด สตูล

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายวีรวัฒน์ ล่าโยค )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด