กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนกาหลง


“ โครงการออกกำลังกายด้วยลีลาศ (ประเภทที่ 2) ”

ตำบลควนกาหลง อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นายภานุมาศ ตั้นซู่

ชื่อโครงการ โครงการออกกำลังกายด้วยลีลาศ (ประเภทที่ 2)

ที่อยู่ ตำบลควนกาหลง อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 23/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการออกกำลังกายด้วยลีลาศ (ประเภทที่ 2) จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลควนกาหลง อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนกาหลง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการออกกำลังกายด้วยลีลาศ (ประเภทที่ 2)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการออกกำลังกายด้วยลีลาศ (ประเภทที่ 2) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลควนกาหลง อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2566 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,530.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนกาหลง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในปัจจุบันประเทศไทยมีจำนวนผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ดังนั้นผู้สูงอายุจะต้องมีกิจกรรมที่สนุกร่าเริงด้วยการออกกำลังกาย ด้วยกิจกรรมที่ชอบ เช่น ลีลาศจังหวะที่เหมาะสม จะเสริมสร้างพลังกาย พลังจิตเป็นสื่อนำไปยังสมองที่ตื่นตัวตลอดเวลาเพื่อไม่ทำให้เป็นผู้สมองเสื่อมติดอยู่กับบ้านนับว่าเป็นกิจกรรมที่ดีมากสำหรับผู้สูงอายุได้มีโอกาสพบปะกับเพื่อนและสังคม ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์และมีร่างกายที่แข็งแรงมากขึ้นและพัฒนาไปสู่การแข่งขันกีฬาสากลระดับชาติต่อไป   การออกกำลังกายเป็นแนวทางหนึ่งในการส่งเสริมสุขภาพจิตและสุขภาพกายของผู้สูงอายุ เพราะช่วยให้ร่างกาย กล้ามเนื้อ เลือดไหลวนเข้าสู่ระบบหายใจได้ดี บำบัดโรค เช่น โรคข้อเสื่อม โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน ซึ่งเป็นปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญส่งผลให้ร่างกายเจ็บป่วยง่าย ดังนั้นจะต้องดูแลสุขภาพให้แข็งแรงอยู่เสมอ เพื่อเป็นการสร้างภูมิคุ้มกันโรคที่ดีที่สุดและให้ตนเองมีสุขภาพร่างกายห่างไกลโรค แต่การออกกำลังกายเป็นเรื่องน่าเบื่อ ไม่มีจุดดึงดูด ไม่ร้าวใจ ไม่ดึงดูดความสนใจให้ออกกำลังกาย การออกกำลังกายด้วยลีลาศเป็นการออกกำลังกายวิธีหนึ่งที่สร้างความสนใจให้ผู้สูงอายุ เนื่องจากมีความสนุกสนานเพลิดเพลินสามารถออกกำลังกายเป็นกลุ่มเกิดความสนุกสนานด้วยจังหวะเสียงเพลงช่วยผ่อนคลายอวัยวะทุกส่วน และเป็นการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงวัยให้เข้าสู่สังคมวัยเดียวกันไม่ต้องให้ถูกทอดทิ้งกับการอยู่ตามลำพัง เสี่ยงต่อการอยู่คนเดียวทำให้มีอารมณ์เศร้า ได้พบปะพูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับเพื่อนรอบข้าง อย่างปัญหาปัจจุบันที่สังคมได้รับก่อนปัญหาด้านเศรษฐกิจได้ส่งผลต่อสุขภาพของประชาชนในชุมชนทำให้สังคมเปลี่ยนแปลงจากความโอบอ้อมอารีเป็นสังคมวุ่นวายส่งผลต่อสังคมผู้สูงอายุอย่างชัดเจน การออกกำลังกายด้วยลีลาศจะช่วยแก้ปัญหาเรื่องดังกล่าวได้มาก   ดังนั้น ชมรมผู้สูงอายุองค์การบริหารส่วนตำบลควนกาหลง ได้เห็นความสำคัญของการออกกำลังกายของผู้สูงอายุ จึงได้จัดทำโครงการออกกำลังกายลีลาศเพื่อสุขภาพ โดยขอรับงบประมาณสนับสนุนการดำเนินงานโครงการจากกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลองค์การบริหารส่วนตำบลควนกาหลง จำนวนเงิน 10,530 (เงินหนึ่งหมื่นห้าร้อยสามสิบบาทถ้วน)

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1 เพื่อฝึกอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับทักษะลีลาศเพื่อเป็นการออกกำลังกายเป็นกลุ่มที่มีความสนุกสนานเพลิดเพลิน 2 เพื่อให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพกายที่พึงประสงค์ 3 ผู้สูงอายุใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ผ่อนคลายร่าเริง แจ่มใส ส่งเสริมความรักความสามัคคี 4 เพื่อเตรียมความพร้อมในการออกสังคมผู้สูงอายุ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ 70
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ผู้สูงอายุมีความรู้เกี่ยวกับทักษะด้านลีลาศ
    2. ผู้สูงอายุมีสุขภาพกายสุขภาพจิตที่ดี
    3. ผู้สูงอายุสามารถใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
    4. เพื่อเตรียมความพร้อมในการแข่งขันกีฬาสากลของผู้สูงอายุ

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1 เพื่อฝึกอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับทักษะลีลาศเพื่อเป็นการออกกำลังกายเป็นกลุ่มที่มีความสนุกสนานเพลิดเพลิน 2 เพื่อให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพกายที่พึงประสงค์ 3 ผู้สูงอายุใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ผ่อนคลายร่าเริง แจ่มใส ส่งเสริมความรักความสามัคคี 4 เพื่อเตรียมความพร้อมในการออกสังคมผู้สูงอายุ
    ตัวชี้วัด : - ผู้สูงอายุมีความรู้ในเรื่องทักษะลีลาศสามารถนำไปออกกำลังกายในการดูแลสุขภาพ คิดเป็นร้อยละ 80 เปอร์เซ็นต์ - ผู้สูงอายุมีสุขภาพแข็งแรง คิดเป็นร้อยละ 80 เปอร์เซ็นต์ - ผู้สูงอายุใช้เวลาว่างดูแลสุขภาพตัวเอง คิดเป็นร้อยละ 80 เปอร์เซ็นต์ - ผู้สูงอายุได้พัฒนาสมรรถภาพในด้านกีฬาลีลาศสูงขึ้น คิดเป็นร้อยละ 80 เปอร์เซ็นต์

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 70
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ 70
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1 เพื่อฝึกอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับทักษะลีลาศเพื่อเป็นการออกกำลังกายเป็นกลุ่มที่มีความสนุกสนานเพลิดเพลิน  2  เพื่อให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพกายที่พึงประสงค์  3  ผู้สูงอายุใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ผ่อนคลายร่าเริง แจ่มใส ส่งเสริมความรักความสามัคคี  4  เพื่อเตรียมความพร้อมในการออกสังคมผู้สูงอายุ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการออกกำลังกายด้วยลีลาศ (ประเภทที่ 2) จังหวัด สตูล

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายภานุมาศ ตั้นซู่ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด