กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่านั่ง


“ โครงการ ลดเค็ม ลดไต ในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ปีงบประมาณ 2566 ”

ตำบลท่านั่ง อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร

หัวหน้าโครงการ
นางศศิรัตน์ สะราคำ

ชื่อโครงการ โครงการ ลดเค็ม ลดไต ในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ปีงบประมาณ 2566

ที่อยู่ ตำบลท่านั่ง อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร จังหวัด พิจิตร

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2565 ถึง 31 สิงหาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ ลดเค็ม ลดไต ในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ปีงบประมาณ 2566 จังหวัดพิจิตร" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่านั่ง อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่านั่ง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ ลดเค็ม ลดไต ในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ปีงบประมาณ 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ ลดเค็ม ลดไต ในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ปีงบประมาณ 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่านั่ง อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2565 - 31 สิงหาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 17,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่านั่ง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากสถานการณ์โรคไตในปัจจุบันกำลังเป็นปัญหาใหญ่ระดับโลก คนไทยมีแนวโน้มป่วยเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ สาเหตุส่วนใหญ่ร้อยละ 70 เกิดจากเบาหวาน และความดันโลหิตสูง ซึ่งมีสถิติผู้ป่วยรวมเกือบ 15 ล้านคน ผลที่ตามมาคือมีภาวะไตเสื่อมและไตเสื่อมเร็วขึ้น หากปฏิบัติไม่ถูกต้อง จากข้อมูลพบว่าคนไทยป่วยเป็นโรคไตเรื้อรังร้อยละ 17.6 ของประชากร หรือประมาณ 8 ล้านคน เป็นผู้ป่วยระยะสุดท้าย 2 แสนคน ป่วยเพิ่มปีละกว่า 7,800 ราย ส่วนการผ่าตัดเปลี่ยนไตทำได้เพียงปีละ 500 ราย จึงเน้นความชะลอความเสื่อมของไตเพื่อให้เข้าสู่ระยะที่ต้องล้างไตช้าลง นอกจากนี้พฤติกรรมการรับประทานอาหารที่เปลี่ยนไป ทำให้พบโรคไตในเด็กด้วยสาเหตุหนึ่ง คือ การรับประทานอาหารเค็ม ฟาสต์ฟูด ขนมขบเคี้ยว (http://www.restmetalk.com, 2563) โรคไม่ติดต่อเรื้อรังมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นและทวีความรุนแรงอย่างต่อเนื่อง จากรายงานขององค์การอนามัยโลก มีผู้เสียชีวิตจำนวนปีละ 40 ล้านคน โดยร้อยละ 48 มีการเสียชีวิตก่อนวัยอันควร ในประเทศไทย โรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงเป็นโรคเรื้อรังที่เป็นปัญหาสำคัญทางด้านสาธารณสุขที่ส่งผลกระทบต่อการดำเนินชีวิต เศรษฐกิจและสังคม รวมทั้งการทำงานอวัยวะต่างๆ ภายในร่างกาย โดยเฉพาะไต ผู้ป่วยโรคเรื้อรังมีพฤติกรรมการดูแลตนเองที่เหมาะสมจะช่วยลดโอกาสในการเกิดภาวะแทรกซ้อนทางไตได้ ซึ่งเป้าหมายที่สำคัญของการดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง คือการป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนและส่งเสริมให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี ปัจจุบันโรคไตเรื้อรัง Chronic Kidney Disese : CKD) เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญทั่วโลก รวมถึงประเทศไทยด้วย โดยเป็นภาวะแทรกซ้อนของเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่สำคัญอย่างหนึ่ง เพราะเป็นโรคเรื้อรังที่รักษาไม่หาย ต้องการดูแลรักษายาวนาน และมีค่าใช้จ่ายสูง หากเข้าสู่ภาวะไตวายระยะสุดท้ายจะต้องได้รับการรักษาที่เรียกว่า การบำบัดทดแทนไต ด้วยการล้างไตผ่านช่องท้องด้วยเครื่องไตเทียม และการผ่าตัดปลูกถ่ายไต (ความชุกและปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการเกิดโรคไตเรื้อรังในผู้ป่วยโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง , ศศิธร ดวนพล, 2563)จากข้อมูลสถานการณ์ผู้ป่วยโรคเรื้อรังตำบลท่านั่ง มีจำนวน 917 คน ในจำนวนนี้เป็นผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงทั้งหมด จำนวน 635 คน และโรคเบาหวานทั้งหมด จำนวน 282 คน โรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานในคนๆเดียว จำนวน 237 คน มีผู้ป่วยโรคไต เรื้อรังระยะที่ 1 (ค่า eGFR > 90) จำนวน 303 คน , ระยะที่ 2 (ค่า eGFR 60 – 90) จำนวน 315 คน , ระยะที่ 3 ( ค่า eGFR 30 – 59 ) จำนวน 157 คน , ระยะที่ 4 (ค่า eGFR 15-29) จำนวน 131 คน , , ระยะที่ 5 (ค่า eGFR 15-29) จำนวน 11 คนจากสภาพปัญหาดังกล่าว โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่านั่งมุ่งหวังที่จะปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้ยาอย่างเหมาะสม พร้อมทั้งการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการรับประทานอาหารเค็ม ของกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จึงได้จัดทำโครงการ ลดเค็ม ลดไต ในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังปีงบประมาณ 2566

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดทำแผนโครงการเพื่อเสนอขออนุมัติ
  2. ค้นหากลุ่มเป้าหมาย และตรวจค่า EGFR (อัตราการกรองของไต) ในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง โดยใช้เงินงบประมาณของเครือข่ายบริการสุขภาพอำเภอโพทะเล
  3. อบรมให้ความรู้ เรื่อง การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกินอาหารรสเค็มทักษะในเรื่องใช้ยาอย่างปลอดภัย และเหมาะสม
  4. กิจกรรม แกนนำทีมรักษ์ไต จำนวน 15 คน ติดตามผู้ป่วยโรคเรื้อรัง หลังจากอบรม จำนวน 3 ครั้ง
  5. อบรมสาธิตเมนูอาหารลดเค็ม

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 80
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผู้ป่วยโรคเรื้อรังมีความรู้และทักษะในเรื่อง การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกินอาหารรสเค็ม และใช้ยาอย่างปลอดภัย สามารถนำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันสามารถลดระดับค่า GFR ของกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังให้มีค่า GFR ดีขึ้น


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 80
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 80
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดทำแผนโครงการเพื่อเสนอขออนุมัติ (2) ค้นหากลุ่มเป้าหมาย และตรวจค่า EGFR (อัตราการกรองของไต) ในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง โดยใช้เงินงบประมาณของเครือข่ายบริการสุขภาพอำเภอโพทะเล (3) อบรมให้ความรู้ เรื่อง การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกินอาหารรสเค็มทักษะในเรื่องใช้ยาอย่างปลอดภัย และเหมาะสม (4) กิจกรรม แกนนำทีมรักษ์ไต จำนวน 15 คน ติดตามผู้ป่วยโรคเรื้อรัง หลังจากอบรม จำนวน 3 ครั้ง (5) อบรมสาธิตเมนูอาหารลดเค็ม

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการ ลดเค็ม ลดไต ในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ปีงบประมาณ 2566 จังหวัด พิจิตร

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางศศิรัตน์ สะราคำ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด