โครงการคุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหารและยาที่ปลอดภัย ประจำปีงบประมาณ 2566
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการคุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหารและยาที่ปลอดภัย ประจำปีงบประมาณ 2566 ”
ตำบลท่านั่ง อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร
หัวหน้าโครงการ
นายธนพล อยู่ศรี
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่านั่ง
สิงหาคม 2566
ชื่อโครงการ โครงการคุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหารและยาที่ปลอดภัย ประจำปีงบประมาณ 2566
ที่อยู่ ตำบลท่านั่ง อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร จังหวัด พิจิตร
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2565 ถึง 31 สิงหาคม 2566
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการคุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหารและยาที่ปลอดภัย ประจำปีงบประมาณ 2566 จังหวัดพิจิตร" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่านั่ง อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่านั่ง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการคุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหารและยาที่ปลอดภัย ประจำปีงบประมาณ 2566
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการคุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหารและยาที่ปลอดภัย ประจำปีงบประมาณ 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่านั่ง อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2565 - 31 สิงหาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 18,895.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่านั่ง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
อาหารมีความสำคัญต่อการดำรงชีวิตเพราะไม่เพียงแต่ให้พลังงานร่างกายแต่ยังให้ความสุขจากการที่มนุษย์ได้เลือกซื้อและรับประทานอาหารตามความชอบ ความถูกใจ โดยพิจารณาจาก สี ลักษณะที่มองเห็น เนื้อสัมผัส และที่ขาดไม่ได้คือกลิ่นรสที่ต้องเป็นที่ชื่นชอบของผู้บริโภคด้วย ความสามารถในการรับกลิ่นรสอาหาร ด้วยเหตุนี้เองทำให้อุตสาหกรรมอาหารต่างๆต้องมีการพัฒนา ดังนั้นการพัฒนาด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาลอาหารจึงต้องมีการปรับปรุงและยกระดับมาตรฐานสุขาภิบาลอาหารสำหรับสถานที่ต่างๆ เช่น ตลาด ร้านอาหาร แผงลอยจำหน่ายอาหารโรงอาหารในโรงเรียน เพื่อให้สถานที่ต่างๆได้มาตรฐานตามที่กำหนด อันจะทำให้ประชาชนมีความปลอดภัยจากการบริโภคอาหารเพิ่มขึ้น ในส่วนของการดำเนินงานในเรื่องความปลอดภัยด้านอาหารรัฐบาลมอบให้กระทรวงสาธารณสุขดำเนินโครงการอาหารปลอดภัย เพื่อดูแลมาตรฐานอาหารในประเทศไทย ให้ได้มาตรฐานสากล เนื่องจากอาหารที่วางจำหน่ายในท้องตลาด ปัจจุบันยังมีการปนเปื้อนของสารต้องห้าม อันอาจก่อให้เกิดโรคต่างๆมากมาย อาทิ โรคมะเร็ง โรคหัวใจ โรคความดันโลหิตสูง โรคไต ซึ่งปัจจุบันได้มีมาตรการต่างๆ เพื่อตรวจสอบมาตรฐานอาหารที่จำหน่ายในท้องตลาด เช่น การตรวจสารปนเปื้อนในอาหารสดที่วางจำหน่ายในตลาด การตรวจสอบการปนเปื้อนของอัลฟลาทอกซิน น้ำมันทอดซ้ำ และการตรวจหาสารพิษตกค้างในเลือดของผู้บริโภค เกษตรกร ของแผงจำหน่ายอาหารในหมู่บ้าน การตรวจสอบมาตรฐานร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหาร การตรวจสอบมาตรฐานสถานที่ผลิตอาหาร รวมถึงการสร้างเครือข่ายในการเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านอาหารในภาคประชาชน เป็นต้น ซึ่งมาตรการที่ได้กล่าวมาข้างต้น ได้ดำเนินการมาอย่างต่อเนื่อง และมีการประเมินผลการดำเนินงานเป็นระยะจากผลการดำเนินงาน โครงการคุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหารและยาที่ปลอดภัย ในปีงบประมาณ 2565 พบว่า ออกตรวจร้านค้าและแผงลอยจำหน่ายอาหารตามเกณฑ์แบบตรวจแผงลอยจำหน่ายอาหารของสำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ กรมอนามัย ในตำบลท่านั่ง โดยมีร้านแผงลอยจำหน่ายอาหาร จำนวน 16 ร้าน พบว่ามีร้านผ่านเกณฑ์ทั้งหมด 15 ร้าน คิดเป็นร้อยละ ๙5.83และมีร้านที่ไม่ผ่านเกณฑ์จำนวน 1 ร้าน คิดเป็นร้อยละ 4.16 ซึ่งร้านที่ไม่ผ่านเกณฑ์ พบว่าบริเวณเขียงมีรอยแตกของไม้ ทำให้มีแบคทีเรียไปสะสมอยู่ จึงแนะนำใช้เขียงที่ไม่มีรอยแตกร้าว ล้างให้สะอาด พึ่งแดด ทุกครั้งหลังใช้ และมีร้านขายของชำ จำนวน 23 ร้าน พบว่ามีร้านผ่านเกณฑ์ทั้งหมด 21 ร้าน คิดเป็นร้อยละ 91.30และมีร้านที่ไม่ผ่านเกณฑ์จำนวน 2 ร้าน คิดเป็นร้อยละ 8.69 ซึ่งร้านที่ไม่ผ่านเกณฑ์ พบว่าน้ำหน่อไม้ดอง ทำเองแบ่งขายเป็นขวด จึงได้แนะนำให้แบบขวดที่มีภาชนะปิดมิดชิด มี อย. มาขายแทนดังนั้น ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลท่านั่ง มีความตระหนักถึงภาวะสุขภาพของประชาชน จึงได้จัดทำโครงการคุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหารและยาที่ปลอดภัย ปีงบประมาณ 2566 เพื่อเป็นการส่งเสริมให้ทุกคนมีสุขภาพดี ไม่เกิดการเจ็บป่วย
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมจัดทำแผนงานโครงการ
- จัดทำและอนุมัติแผนงาน/โครงการ
- จัดหาชุดตรวจสารปนเปื้อนในอาหาร
- กิจกรรม ค้นหากลุ่มเป้าหมาย พร้อมตรวจหาระดับปริมาณสารเคมีตกค้างในเลือดให้กับกลุ่มเกษตรกรและผู้บริโภค
- ประชุมชี้แจง ความรู้ในการปฏิบัติงานตรวจประเมินร้านขายของชำ ร้านอาหารแผงลอย และร้านอาหารปลอดภัย ตามเกณฑ์ของกรมอนามัย ให้กับกลุ่ม อสม.ผู้ปฏิบัติงาน
- ตรวจประเมินร้านขายของชำร้านอาหารแผงลอย และร้านอาหารปลอดภัย ตามเกณฑ์ของกรมอนามัย จำนวน 2 ครั้ง
- กิจกรรม อบรมให้ความรู้แก่เกษตรกร และผู้บริโภค
- มอบป้ายรับรองมาตรฐานอาหารสะอาดรสชาติดี อาหารปลอดภัยให้แก่ร้านอาหารแผงลอยที่ผ่านตามเกณฑ์
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
380
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- อสม. มีความรู้และสามารถถ่ายทอดความรู้ในการเลือกซื้อและบริโภคอาหารที่สะอาดปลอดภัย
- ร้านขายของชำ ร้านอาหารแผงลอย และร้านอาหารมีการพัฒนาตามมาตรฐานสุขาภิบาล
- เกษตรกร และผู้บริโภคมีสุขภาพร่างกายดีขึ้น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
380
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
380
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมจัดทำแผนงานโครงการ (2) จัดทำและอนุมัติแผนงาน/โครงการ (3) จัดหาชุดตรวจสารปนเปื้อนในอาหาร (4) กิจกรรม ค้นหากลุ่มเป้าหมาย พร้อมตรวจหาระดับปริมาณสารเคมีตกค้างในเลือดให้กับกลุ่มเกษตรกรและผู้บริโภค (5) ประชุมชี้แจง ความรู้ในการปฏิบัติงานตรวจประเมินร้านขายของชำ ร้านอาหารแผงลอย และร้านอาหารปลอดภัย ตามเกณฑ์ของกรมอนามัย ให้กับกลุ่ม อสม.ผู้ปฏิบัติงาน (6) ตรวจประเมินร้านขายของชำร้านอาหารแผงลอย และร้านอาหารปลอดภัย ตามเกณฑ์ของกรมอนามัย จำนวน 2 ครั้ง (7) กิจกรรม อบรมให้ความรู้แก่เกษตรกร และผู้บริโภค (8) มอบป้ายรับรองมาตรฐานอาหารสะอาดรสชาติดี อาหารปลอดภัยให้แก่ร้านอาหารแผงลอยที่ผ่านตามเกณฑ์
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการคุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหารและยาที่ปลอดภัย ประจำปีงบประมาณ 2566 จังหวัด พิจิตร
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายธนพล อยู่ศรี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการคุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหารและยาที่ปลอดภัย ประจำปีงบประมาณ 2566 ”
ตำบลท่านั่ง อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร
หัวหน้าโครงการ
นายธนพล อยู่ศรี
สิงหาคม 2566
ที่อยู่ ตำบลท่านั่ง อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร จังหวัด พิจิตร
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2565 ถึง 31 สิงหาคม 2566
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการคุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหารและยาที่ปลอดภัย ประจำปีงบประมาณ 2566 จังหวัดพิจิตร" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่านั่ง อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่านั่ง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการคุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหารและยาที่ปลอดภัย ประจำปีงบประมาณ 2566
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการคุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหารและยาที่ปลอดภัย ประจำปีงบประมาณ 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่านั่ง อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2565 - 31 สิงหาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 18,895.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่านั่ง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
อาหารมีความสำคัญต่อการดำรงชีวิตเพราะไม่เพียงแต่ให้พลังงานร่างกายแต่ยังให้ความสุขจากการที่มนุษย์ได้เลือกซื้อและรับประทานอาหารตามความชอบ ความถูกใจ โดยพิจารณาจาก สี ลักษณะที่มองเห็น เนื้อสัมผัส และที่ขาดไม่ได้คือกลิ่นรสที่ต้องเป็นที่ชื่นชอบของผู้บริโภคด้วย ความสามารถในการรับกลิ่นรสอาหาร ด้วยเหตุนี้เองทำให้อุตสาหกรรมอาหารต่างๆต้องมีการพัฒนา ดังนั้นการพัฒนาด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาลอาหารจึงต้องมีการปรับปรุงและยกระดับมาตรฐานสุขาภิบาลอาหารสำหรับสถานที่ต่างๆ เช่น ตลาด ร้านอาหาร แผงลอยจำหน่ายอาหารโรงอาหารในโรงเรียน เพื่อให้สถานที่ต่างๆได้มาตรฐานตามที่กำหนด อันจะทำให้ประชาชนมีความปลอดภัยจากการบริโภคอาหารเพิ่มขึ้น ในส่วนของการดำเนินงานในเรื่องความปลอดภัยด้านอาหารรัฐบาลมอบให้กระทรวงสาธารณสุขดำเนินโครงการอาหารปลอดภัย เพื่อดูแลมาตรฐานอาหารในประเทศไทย ให้ได้มาตรฐานสากล เนื่องจากอาหารที่วางจำหน่ายในท้องตลาด ปัจจุบันยังมีการปนเปื้อนของสารต้องห้าม อันอาจก่อให้เกิดโรคต่างๆมากมาย อาทิ โรคมะเร็ง โรคหัวใจ โรคความดันโลหิตสูง โรคไต ซึ่งปัจจุบันได้มีมาตรการต่างๆ เพื่อตรวจสอบมาตรฐานอาหารที่จำหน่ายในท้องตลาด เช่น การตรวจสารปนเปื้อนในอาหารสดที่วางจำหน่ายในตลาด การตรวจสอบการปนเปื้อนของอัลฟลาทอกซิน น้ำมันทอดซ้ำ และการตรวจหาสารพิษตกค้างในเลือดของผู้บริโภค เกษตรกร ของแผงจำหน่ายอาหารในหมู่บ้าน การตรวจสอบมาตรฐานร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหาร การตรวจสอบมาตรฐานสถานที่ผลิตอาหาร รวมถึงการสร้างเครือข่ายในการเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านอาหารในภาคประชาชน เป็นต้น ซึ่งมาตรการที่ได้กล่าวมาข้างต้น ได้ดำเนินการมาอย่างต่อเนื่อง และมีการประเมินผลการดำเนินงานเป็นระยะจากผลการดำเนินงาน โครงการคุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหารและยาที่ปลอดภัย ในปีงบประมาณ 2565 พบว่า ออกตรวจร้านค้าและแผงลอยจำหน่ายอาหารตามเกณฑ์แบบตรวจแผงลอยจำหน่ายอาหารของสำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ กรมอนามัย ในตำบลท่านั่ง โดยมีร้านแผงลอยจำหน่ายอาหาร จำนวน 16 ร้าน พบว่ามีร้านผ่านเกณฑ์ทั้งหมด 15 ร้าน คิดเป็นร้อยละ ๙5.83และมีร้านที่ไม่ผ่านเกณฑ์จำนวน 1 ร้าน คิดเป็นร้อยละ 4.16 ซึ่งร้านที่ไม่ผ่านเกณฑ์ พบว่าบริเวณเขียงมีรอยแตกของไม้ ทำให้มีแบคทีเรียไปสะสมอยู่ จึงแนะนำใช้เขียงที่ไม่มีรอยแตกร้าว ล้างให้สะอาด พึ่งแดด ทุกครั้งหลังใช้ และมีร้านขายของชำ จำนวน 23 ร้าน พบว่ามีร้านผ่านเกณฑ์ทั้งหมด 21 ร้าน คิดเป็นร้อยละ 91.30และมีร้านที่ไม่ผ่านเกณฑ์จำนวน 2 ร้าน คิดเป็นร้อยละ 8.69 ซึ่งร้านที่ไม่ผ่านเกณฑ์ พบว่าน้ำหน่อไม้ดอง ทำเองแบ่งขายเป็นขวด จึงได้แนะนำให้แบบขวดที่มีภาชนะปิดมิดชิด มี อย. มาขายแทนดังนั้น ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลท่านั่ง มีความตระหนักถึงภาวะสุขภาพของประชาชน จึงได้จัดทำโครงการคุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหารและยาที่ปลอดภัย ปีงบประมาณ 2566 เพื่อเป็นการส่งเสริมให้ทุกคนมีสุขภาพดี ไม่เกิดการเจ็บป่วย
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมจัดทำแผนงานโครงการ
- จัดทำและอนุมัติแผนงาน/โครงการ
- จัดหาชุดตรวจสารปนเปื้อนในอาหาร
- กิจกรรม ค้นหากลุ่มเป้าหมาย พร้อมตรวจหาระดับปริมาณสารเคมีตกค้างในเลือดให้กับกลุ่มเกษตรกรและผู้บริโภค
- ประชุมชี้แจง ความรู้ในการปฏิบัติงานตรวจประเมินร้านขายของชำ ร้านอาหารแผงลอย และร้านอาหารปลอดภัย ตามเกณฑ์ของกรมอนามัย ให้กับกลุ่ม อสม.ผู้ปฏิบัติงาน
- ตรวจประเมินร้านขายของชำร้านอาหารแผงลอย และร้านอาหารปลอดภัย ตามเกณฑ์ของกรมอนามัย จำนวน 2 ครั้ง
- กิจกรรม อบรมให้ความรู้แก่เกษตรกร และผู้บริโภค
- มอบป้ายรับรองมาตรฐานอาหารสะอาดรสชาติดี อาหารปลอดภัยให้แก่ร้านอาหารแผงลอยที่ผ่านตามเกณฑ์
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 380 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- อสม. มีความรู้และสามารถถ่ายทอดความรู้ในการเลือกซื้อและบริโภคอาหารที่สะอาดปลอดภัย
- ร้านขายของชำ ร้านอาหารแผงลอย และร้านอาหารมีการพัฒนาตามมาตรฐานสุขาภิบาล
- เกษตรกร และผู้บริโภคมีสุขภาพร่างกายดีขึ้น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย |
---|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 380 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 380 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมจัดทำแผนงานโครงการ (2) จัดทำและอนุมัติแผนงาน/โครงการ (3) จัดหาชุดตรวจสารปนเปื้อนในอาหาร (4) กิจกรรม ค้นหากลุ่มเป้าหมาย พร้อมตรวจหาระดับปริมาณสารเคมีตกค้างในเลือดให้กับกลุ่มเกษตรกรและผู้บริโภค (5) ประชุมชี้แจง ความรู้ในการปฏิบัติงานตรวจประเมินร้านขายของชำ ร้านอาหารแผงลอย และร้านอาหารปลอดภัย ตามเกณฑ์ของกรมอนามัย ให้กับกลุ่ม อสม.ผู้ปฏิบัติงาน (6) ตรวจประเมินร้านขายของชำร้านอาหารแผงลอย และร้านอาหารปลอดภัย ตามเกณฑ์ของกรมอนามัย จำนวน 2 ครั้ง (7) กิจกรรม อบรมให้ความรู้แก่เกษตรกร และผู้บริโภค (8) มอบป้ายรับรองมาตรฐานอาหารสะอาดรสชาติดี อาหารปลอดภัยให้แก่ร้านอาหารแผงลอยที่ผ่านตามเกณฑ์
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการคุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหารและยาที่ปลอดภัย ประจำปีงบประมาณ 2566 จังหวัด พิจิตร
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายธนพล อยู่ศรี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......