กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะลุโบะ


“ โครงการผู้พิการ ผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียงสุขกาย ผู้ดูแลสุขใจ ตำบลตะลุโบะ ปี 2567 ”



หัวหน้าโครงการ
นางมาสีเตาะ นิมาปู

ชื่อโครงการ โครงการผู้พิการ ผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียงสุขกาย ผู้ดูแลสุขใจ ตำบลตะลุโบะ ปี 2567

ที่อยู่ จังหวัด

รหัสโครงการ 67-L3011-1-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการผู้พิการ ผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียงสุขกาย ผู้ดูแลสุขใจ ตำบลตะลุโบะ ปี 2567 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะลุโบะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการผู้พิการ ผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียงสุขกาย ผู้ดูแลสุขใจ ตำบลตะลุโบะ ปี 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการผู้พิการ ผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียงสุขกาย ผู้ดูแลสุขใจ ตำบลตะลุโบะ ปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ 67-L3011-1-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,080.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะลุโบะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สถานการณ์ภาวะสุขภาพของประชาชนในปัจจุบันป่วยด้วยโรคเรื้อรัง เช่น ความดันโลหิตสูง เบาหวาน ไตและไขมันในเลือดสูงมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น เนื่องมาจากพฤติกรรมการบริโภคที่ไม่ถูกต้อง ขาดการดูแลสุขภาพที่ดี ขาดการรักษาและการรับประทานยาส่งผลให้เกิดเส้นเลือดในสมองตีบ แตก ทำให้ผู้ป่วยไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ กลายเป็นผู้ป่วยอัมพฤกษ์ อัมพาต พิการ ติดบ้านติดเตียง อีกทั้งปัจจุบัน ประเทศไทยเป็นสังคมผู้สูงอายุและกำลังย่างเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์จากการเปลี่ยนแปลงตามวัยสูงอายุที่ก่อให้เกิดความเสื่อมถอยของร่างกาย ทำให้ผู้สูงอายุเกิดโรคเรื้อรังและมีหลายโรคร่วมส่งผลให้แนวโน้มผู้สูงอายุมีภาวะพึ่งพิงเพิ่มมากขึ้น จากการแบ่งประเภทผู้สูงอายุตามเกณฑ์ สปสช. การประเมินกิจวัตรประจำวันด้วยแบบประเมิน Bathel ADL และ แบบประเมินภาวะพึ่งพิง TAI (Typology of Aged with Illustration) ได้แก่ กลุ่ม ๑ ติดบ้าน (B3) กลุ่ม ๒ ติด บ้าน (C2,C3,C4) กลุ่ม ๓ ติดเตียง (I3) กลุ่ม ๔ ติดเตียง (I1,I2) โดยผู้สูงอายุโรคเรื้อรังติดเตียง และผู้พิการจำเป็นต้องมีการดูแล ระยะยาว(Long term care) เนื่องจากมีภาวะพึ่งพิงจำเป็นต้องมีคนดูแล บางคนต้องใช้อุปกรณ์ทางการแพทย์ บางรายอาจมีแผลกดทับร่วมด้วย บางรายต้องให้อาหารทางสายยาง การสนับสนุนเพื่อพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลในการดูแลผู้สูงอายุโรค เรื้อรังติดเตียงทั้งด้านความรู้ ความเข้าใจ การส่งเสริมศักยภาพหรือสมรรถนะแห่งตนของผู้ดูแล เป็นการดูแล ต่อเนื่องโดยครอบครัว(Family care) ซึ่งในการดูแลระยะยาวผู้พิการผู้สูงอายุโรคเรื้อรังติดบ้านติดเตียงผู้ดูแลจะต้องมีความรู้ความเข้าใจ ทักษะการดูแลผู้ป่วย การควบคุมโรค และการฟื้นฟูที่ถูกต้องอย่างต่อเนื่อง ได้แก่ อาหาร การใช้ยาและติดตามผลตรวจตามนัด การทำกายภาพเบื้องต้นรวมถึงการป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่พบบ่อยในผู้พิการ ผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียง การจัดการอาการที่พบบ่อย การดูแลด้านจิตใจและจิตวิญญาณ หากผู้ดูแลมีความรู้และปฏิบัติได้อย่างมีสมรรถนะแห่งตนจะทำให้ผู้พิการ ผู้สูงอายุโรคเรื้อรังติดบ้านติดเตียงมีคุณภาพชีวิตที่ดีตามมา และจะลดภาระระบบบริการสุขภาพจากบุคลากรทางสุขภาพอีกทั้งผู้ป่วยจะสามารถใช้ชีวิตประจำวันและอยู่ร่วมกับบุคคลอื่นในสังคมได้อย่างมีความสุข
ในพื้นที่รับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตะลุโบะมีผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง จำนวน 34 คนซึ่งคนกลุ่มนี้จำเป็นต้องมีผู้ดูแลคอยช่วยเหลือกิจวัตรประจำวันและต้องดูแลอย่างต่อเนื่อง จากการสอบถามปัญหาของผู้ดูแล พบว่า บางคนไม่มีทักษะในการดูแลเบื้องต้น บางคนต้องดูแลคนเดียว บางคนเหนื่อย เครียดที่เผชิญปัญหาและอารมณ์ของผู้ป่วย เป็นต้น
ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตะลุโบะ จึงได้เห็นความสำคัญในการพัฒนาศักยภาพผู้ดูแล ผู้พิการ ผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียง ทั้งด้านร่างกาย จิตใจและจิตวิญญาณ จึงมีการจัดการให้ความรู้และทักษะปฏิบัติที่จำเป็นและการจัดการความเครียดในการดูแลระยะยาว เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นและเป็นการส่งเสริมคุณภาพชีวิตที่ดีแก่ผู้ป่วยและผู้ดูแล

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้ดูแลผู้พิการ ผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียง มีความรู้และทักษะที่จำเป็นในการดูแลผู้พิการ ผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียง
  2. เพื่อให้ผู้พิการ ผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียง ได้รับการเยี่ยมบ้านดูแลอย่างต่อเนื่อง
  3. เพื่อให้ผู้พิการ ผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียง ไม่มีภาวะแทรกซ้อน
  4. เพื่อให้ผู้ดูแลผู้พิการ ผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียง มีสุขภาพจิตที่ดี

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่ผู้ดูแลเบื้องต้น
  2. กิจกรรมประเมินภาวะสุขภาพจิตด้วยแบบประเมินความเครียด ST-5 ก่อน-หลังอบรม ส่งเสริมสุขภาพจิตและจิตวิญญาณแก่ผู้ป่วยและผู้ดูแลและการจัดการความเครียด
  3. กิจกรรมเยี่ยมบ้านคัดกรองและประเมินสุขภาพกายและจิต ผู้พิการ ผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียงและผู้ดูแล

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 60
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้ดูแลผู้พิการ ผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียง ได้รับการดูแลและส่งเสริมสุขภาพจากหน่วยบริการภาครัฐ
  2. ผู้ดูแลผู้พิการ ผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียง มีศักยภาพในการดูแลและฟื้นฟูสภาพผู้พิการ ผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียง
  3. ชุมชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องมีส่วนร่วมในการดูแลผู้พิการ ผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียงต่อเนื่องในชุมชน
  4. ลดอัตราการครองเตียงของผู้พิการ ผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้ดูแลผู้พิการ ผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียง มีความรู้และทักษะที่จำเป็นในการดูแลผู้พิการ ผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียง
ตัวชี้วัด : ผู้ดูแลผู้พิการ ผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียง มีความรู้และทักษะที่จำเป็นในการดูแลผู้พิการ ผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียงมากกว่าร้อยละ 70
0.00 0.00

 

2 เพื่อให้ผู้พิการ ผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียง ได้รับการเยี่ยมบ้านดูแลอย่างต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด : ผู้พิการ ผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียง ได้รับการเยี่ยมบ้านดูแลอย่างต่อเนื่อง มากกว่าร้อยละ 80
0.00 0.00

 

3 เพื่อให้ผู้พิการ ผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียง ไม่มีภาวะแทรกซ้อน
ตัวชี้วัด : ผู้พิการ ผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียงมีภาวะแทรกซ้อนไม่เกินร้อยละ 30
0.00 0.00

 

4 เพื่อให้ผู้ดูแลผู้พิการ ผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียง มีสุขภาพจิตที่ดี
ตัวชี้วัด : ผู้ดูแลผู้พิการ ผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียง ผลคะเเนนการประเมินภาวะสุขภาพจิตด้วยแบบประเมินความเครียด ST-5 น้อยกว่า 4 คะแนน มากกว่า ร้อยละ 80
0.00 0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 60
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ดูแลผู้พิการ ผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียง มีความรู้และทักษะที่จำเป็นในการดูแลผู้พิการ ผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียง (2) เพื่อให้ผู้พิการ ผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียง ได้รับการเยี่ยมบ้านดูแลอย่างต่อเนื่อง (3) เพื่อให้ผู้พิการ ผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียง ไม่มีภาวะแทรกซ้อน (4) เพื่อให้ผู้ดูแลผู้พิการ ผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียง มีสุขภาพจิตที่ดี

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่ผู้ดูแลเบื้องต้น (2) กิจกรรมประเมินภาวะสุขภาพจิตด้วยแบบประเมินความเครียด ST-5 ก่อน-หลังอบรม ส่งเสริมสุขภาพจิตและจิตวิญญาณแก่ผู้ป่วยและผู้ดูแลและการจัดการความเครียด (3) กิจกรรมเยี่ยมบ้านคัดกรองและประเมินสุขภาพกายและจิต ผู้พิการ ผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียงและผู้ดูแล

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการผู้พิการ ผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียงสุขกาย ผู้ดูแลสุขใจ ตำบลตะลุโบะ ปี 2567 จังหวัด

รหัสโครงการ 67-L3011-1-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางมาสีเตาะ นิมาปู )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด