กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งนุ้ย


“ โครงการป้องกันและชะลอไตเสื่อมในผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ประจำปีงบประมาณ 2567 ”

ตำบลทุ่งนุ้ย อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นายปรีดี เรืองพูน

ชื่อโครงการ โครงการป้องกันและชะลอไตเสื่อมในผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ประจำปีงบประมาณ 2567

ที่อยู่ ตำบลทุ่งนุ้ย อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 67-L5281-6-02 เลขที่ข้อตกลง 14/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกันและชะลอไตเสื่อมในผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ประจำปีงบประมาณ 2567 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งนุ้ย อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งนุ้ย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันและชะลอไตเสื่อมในผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ประจำปีงบประมาณ 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการป้องกันและชะลอไตเสื่อมในผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ประจำปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งนุ้ย อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 67-L5281-6-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 26,550.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งนุ้ย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควนบ่อทอง เปิดให้บริการคลินิกโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง มีผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงที่มารับบริการต่อเนื่อง จำนวน 165 ราย แยกเป็นป่วยด้วยโรคเบาหวาน 9 ราย โรคความดันโลหิตสูง 103 ราย ป่วยด้วยโรคเบาหวานร่วมกับความดันโลหิตสูง 53 ราย รวมผู้ป่วยที่มารับบริการในคลินิกทั้งหมด 165 ราย ในปีงบประมาณ 2566 ที่ผ่านมา ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ได้รับการค้นหาและคัดกรองโรคไตเรื้อรัง ร้อยละ 73.94  พบผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังทุก Stage จำนวน 46 ราย (จากฐานข้อมูล HDC สสจ.สตูล วันที่ 31 ตค 2566) พบอัตราที่เพิ่มขึ้นจากปีงบประมาณ 2565 ซึ่งในแต่ละปีผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง จะต้องได้รับการดูแลและตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนประจำปีตามเกณฑ์มาตรฐาน เพื่อค้นหาผู้ป่วยและส่งต่อในรายที่เกินขีดความสามารถในการดูแลของ รพ.สต. จากข้อมูลข้างต้น  การตรวจคัดกรองในระยะเริ่มต้น ร่วมกับการหาแนวทางในการป้องกันภาวะแทรกซ้อนจากโรคไตเรื้อรังในผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง จะช่วยลดความรุนแรงของโรคในกลุ่มป่วยดังกล่าว จึงมีความจำเป็นและควรเริ่มต้นในระยะแรกของโรค การให้ความรู้เรื่องอาหารและการปฏิบัติตัว รวมถึงการให้ยาเฉพาะโรคอย่างถูกต้องเหมาะสม จะสามารถป้องกันและชะลอการเสื่อมของหน้าที่ไตได้
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควนบ่อทอง จึงได้จัดทำโครงการป้องกันและชะลอไตเสื่อมในผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ประจำปีงบประมาณ 2567 ขึ้น เพื่อกระตุ้นให้ผู้ป่วยเข้าถึงการรับบริการตามสิทธิประโยชน์ที่ผู้ป่วยจะได้รับ คือ การตรวจคัดกรอง ดูแล ป้องกัน ส่งเสริมให้ความรู้ ควบคู่ความตระหนักในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ และการปฏิบัติตัวที่ถูกต้อง เพื่อลดภาวะแทรกซ้อนจากโรคไตเรื้อรังและโรคอื่นๆ ทั้งนี้เป็นการป้องกันความรุนแรงของโรค ลดภาระค่าใช้จ่ายและอัตราการสูญเสียของชีวิตลงได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ได้รับการคัดกรองไตเรื้อรังเพิ่มมากขึ้นและส่งต่อในรายที่ผิดปกติ
  2. ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง มีความรู้ความเข้าใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพป้องกันภาวะโรคไตเรื้อรัง
  3. ผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ทุก Stage มีความรู้ความเข้าใจในการดูแลตนเอง และได้รับการส่งต่อในรายที่ผิดปกติ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรม อบรมให้ความรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3 อ 2 ส แก่กลุ่มป่วยโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูงป้องกันภาวะโรคไตเรื้อรัง
  2. กิจกรรม อบรมให้ความรู้การจัดการดูแลตนเอง แก่กลุ่มป่วยโรคไตเรื้อรังทุก Stage

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 90
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ได้รับการคัดกรองไตเรื้อรังเพิ่มมากขึ้นและส่งต่อในรายที่ผิดปกติ เพิ่มขึ้น ร้อยละ 80
    2.ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง มีความรู้ความเข้าใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพป้องกันภาวะโรคไตเรื้อรัง เพิ่มขึ้น ร้อยละ 80     3.ผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ทุก Stage มีความรู้ความเข้าใจในการดูแลตนเอง และได้รับการส่งต่อในรายที่ผิดปกติ เพิ่มขึ้น ร้อยละ 80


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ได้รับการคัดกรองไตเรื้อรังเพิ่มมากขึ้นและส่งต่อในรายที่ผิดปกติ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมโครงการ ได้รับการตรวจคัดกรองโรคไตเรื้อรังและส่งต่อในรายที่ผิดปกติ

 

2 ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง มีความรู้ความเข้าใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพป้องกันภาวะโรคไตเรื้อรัง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง

 

3 ผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ทุก Stage มีความรู้ความเข้าใจในการดูแลตนเอง และได้รับการส่งต่อในรายที่ผิดปกติ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจและได้รับการส่งต่อในรายที่ผิดปกติ

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 90
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 90
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง  ได้รับการคัดกรองไตเรื้อรังเพิ่มมากขึ้นและส่งต่อในรายที่ผิดปกติ (2) ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง มีความรู้ความเข้าใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพป้องกันภาวะโรคไตเรื้อรัง (3) ผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ทุก Stage มีความรู้ความเข้าใจในการดูแลตนเอง และได้รับการส่งต่อในรายที่ผิดปกติ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรม อบรมให้ความรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3 อ 2 ส แก่กลุ่มป่วยโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูงป้องกันภาวะโรคไตเรื้อรัง (2) กิจกรรม อบรมให้ความรู้การจัดการดูแลตนเอง แก่กลุ่มป่วยโรคไตเรื้อรังทุก Stage

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการป้องกันและชะลอไตเสื่อมในผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ประจำปีงบประมาณ 2567 จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 67-L5281-6-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายปรีดี เรืองพูน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด