กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการการส่งเสริมการจัดการสุขภาพแบบองค์รวม ในเขตพื้นที่ ศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง ศูนย์สุขภาพชุมชนพาณิชย์สร้างสุข และศูนย์สุขภาพชุมชนกุโบร์รวมใจ

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา


“ โครงการการส่งเสริมการจัดการสุขภาพแบบองค์รวม ในเขตพื้นที่ ศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง ศูนย์สุขภาพชุมชนพาณิชย์สร้างสุข และศูนย์สุขภาพชุมชนกุโบร์รวมใจ ”

ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางวสุธิดา นนทพันธ์ ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ

ชื่อโครงการ โครงการการส่งเสริมการจัดการสุขภาพแบบองค์รวม ในเขตพื้นที่ ศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง ศูนย์สุขภาพชุมชนพาณิชย์สร้างสุข และศูนย์สุขภาพชุมชนกุโบร์รวมใจ

ที่อยู่ ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ L7250-1-09 เลขที่ข้อตกลง 41/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 เมษายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการการส่งเสริมการจัดการสุขภาพแบบองค์รวม ในเขตพื้นที่ ศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง ศูนย์สุขภาพชุมชนพาณิชย์สร้างสุข และศูนย์สุขภาพชุมชนกุโบร์รวมใจ จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการการส่งเสริมการจัดการสุขภาพแบบองค์รวม ในเขตพื้นที่ ศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง ศูนย์สุขภาพชุมชนพาณิชย์สร้างสุข และศูนย์สุขภาพชุมชนกุโบร์รวมใจ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการการส่งเสริมการจัดการสุขภาพแบบองค์รวม ในเขตพื้นที่ ศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง ศูนย์สุขภาพชุมชนพาณิชย์สร้างสุข และศูนย์สุขภาพชุมชนกุโบร์รวมใจ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ L7250-1-09 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 เมษายน 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 239,160.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันสถานการณ์โรควิถีชีวิตในประเทศไทยกำลังทวีความรุนแรงขึ้น โดยเฉพาะ ๕ โรคสำคัญ ได้แก่ เบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง และมะเร็ง ซึ่งเป็นโรคไม่ติดต่อ รักษายาก และไม่หายขาด ไม่ได้เกิดจากการติดเชื้อโรค แต่เกิดมาจากสาเหตุการใช้วิถีชีวิตแบบสังคมคนเมืองสมัยใหม่
ที่มีพฤติกรรมการกินเปลี่ยนแปลงไป โดยบริโภคอาหารหวาน มัน และเค็มเพิ่มขึ้น กินผักผลไม้น้อยลง มีร้านอาหาร คาเฟ่ ร้านขายน้ำหวาน ร้านสะดวกซื้อเพิ่มขึ้น และขาดการออกกำลังกาย จึงส่งผลให้คนไทยมีภาวะน้ำหนักเกินและโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเพิ่มขึ้น
โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของโลกและประเทศ ซึ่งมีแนวโน้มที่จะส่งผลกระทบมากขึ้นในอนาคต นอกจากนี้ยังเป็นสาเหตุที่ก่อให้เกิดความพิการและเสียชีวิตเพิ่มมากขึ้น รวมทั้งปัจจัยเสี่ยงที่ก่อให้เกิด โรคล้วนเกี่ยวข้องกับพฤติกรรมสุขภาพของมนุษย์ที่มีการเปลี่ยนแปลงไปตามกระแสความเจริญของโลก ประกอบกับโครงสร้างประชากรที่เปลี่ยนแปลงที่ทำให้มีผู้สงอายุเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง จึงยังทำให้ผู้ป่วยมีแนวโน้มเพิ่ม ทำให้สำนักระบาดวิทยาต้องดําเนินการเฝ้าระวังโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ๕ โรค ได้แก่ เบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจขาดเลือด โรคหลอดเลือดสมอง โรคไตเรื้อรัง ข้อมูลจำนวนผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ปี 2566 ในเขตพื้นที่ศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง ที่อยู่ในระบบการรักษา มีทั้งหมด 1,843 คน แยกเป็นโรคเบาหวาน จำนวน 266 คน โรคความดันโลหิตสูง จำนวน 1,045 คน และเป็นทั้งสองโรค จำนวน 532 คน ซึ่งมารับบริการในคลินิกโรคเรื้อรังของศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง เครือข่ายโรงพยาบาลสงขลา 175 คน และอีก 1,668 คน รับยาที่โรงพยาบาลสงขลา, โรงพยาบาลอื่นๆ ของรัฐ
และคลินิก ศูนย์สุขภาพชุมชนพาณิชย์สร้างสุข อยู่ในระบบการรักษา มีทั้งหมด 1,514 คน แยกเป็นโรคเบาหวานจำนวน 118 คน โรคความดันโลหิตสูง จำนวน 932 คน และเป็นทั้งสองโรค จำนวน 312 คน ซึ่งมารับบริการในคลินิกโรคเรื้อรังของศูนย์สุขภาพชุมชนพาณิชย์สร้างสุข เครือข่ายโรงพยาบาลสงขลา 208 คน และอีก 1,457 คน รับษาที่โรงพยาบาลสงขลา, โรงพยาบาลอื่นๆ ของรัฐ และคลินิก ศูนย์สุขภาพชุมชนกุโบร์รวมใจ ที่อยู่ในระบบการรักษา มีทั้งหมด 1,528 คน แยกเป็นโรคเบาหวานจำนวน 145 คน โรคความดันโลหิตสูง จำนวน 983 คน และเป็นทั้งสองโรค จำนวน 400 คน ซึ่งมารับบริการในคลินิกโรคเรื้อรังของศูนย์สุขภาพชุมชนกุโบร์รวมใจ เครือข่ายโรงพยาบาลสงขลา จำนวน 185 คน และอีก 1,343 คน รับยาที่โรงพยาบาลสงขลา,โรงพยาบาลอื่นๆ ของรัฐ และคลินิก ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ทั้ง 3 หน่วยบริการ จะต้องได้รับการดูแลแบบองค์รวมตามมาตรฐานวิชาชีพเฉพาะโรค
เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อน โรคหลอดเลือดหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง และไตวาย จึงได้จัดโครงการนี้ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อประเมินผู้ป่วยเรื้อรัง-ติดเตียง-ผู้พิการ-ผู้สูงอายุ-ผู้ป่วยเรื้อรังระยะท้าย ได้รับการดูแลตามมาตรฐานวิชาชีพเฉพาะโรค และลดภาวะแทรกซ้อนโรคหลอดเลือดสมอง หัวใจ ไตวาย
  2. 2.เพื่อให้ผู้ป่วยมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและสามารถควบคุมโรคเรื้อรังได้อย่างเหมาะสม
  3. 3.เพื่อเสริมสร้างความรู้ให้กับแกนนำสุขภาพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 งานภาคประชาชนแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการส่งเสริมสุขภาพและแก้ไขปัญหาสุขภาพในชุมชน
  2. กิจกรรมที่ 2 งานควบคุมโรคไม่ติดต่อ
  3. กิจกรรมที่ 3 สร้างความตระหนักรู้ในการจัดการสุขภาพตนเองของผู้ป่วยโรคเรื้อรังและแกนนำสุขภาพเพื่อเฝ้าระวังการเกิดโรคไตวายเรื้อรัง
  4. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม
  5. ค่าอาหารเช้า
  6. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม
  7. ค่าอาหารกลางวัน
  8. ค่าตอบแทนวิทยากร
  9. ค่าวัสดุ อุปกรณ์ในการจัดฐาน
  10. ค่าโปสเตอร์โฟมบอร์ดความรู้โรคไตวาย โรคหลอดเลือดสมอง โรคหลอดเลือดหัวใจ
  11. ค่าแฟ้มใส่เอกสารประวัติการตรวจรักษาผู้ป่วยเรื้อรัง
  12. ค่าสติกเกอร์เตือนใจ รู้ไว ไปเร็ว ปลอดภัย จากโรคหลอดเลือดสมองติดที่บ้านผู้ป่วย
  13. ค่านวัตกรรมกระเป๋าผ้ากันลืม
  14. ค่าเครื่องวัดความเค็มในอาหารแบบพกพา (Salt Meter)
  15. ค่าเครื่องตรวจวัดความเค็มในปัสสาวะ KME-03

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 180
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้ป่วยเรื้อรัง-ติดเตียง-ผู้พิการ-ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยระยะท้าย มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น 2.ผู้ป่วยมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและควบคุมโรคเรื้อรังได้อย่างเหมาะสม 3.นำความรู้ที่ได้รับไปถ่ายทอดกับปฏิบัติให้กับคนอื่นได้


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อประเมินผู้ป่วยเรื้อรัง-ติดเตียง-ผู้พิการ-ผู้สูงอายุ-ผู้ป่วยเรื้อรังระยะท้าย ได้รับการดูแลตามมาตรฐานวิชาชีพเฉพาะโรค และลดภาวะแทรกซ้อนโรคหลอดเลือดสมอง หัวใจ ไตวาย
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 80 ของผู้ป่วยเรื้อรัง ผู้พิการ ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยระยะท้าย ได้รับการดูแลแบบองค์รวมตามมาตรฐานวิชาชีพ
80.00

 

2 2.เพื่อให้ผู้ป่วยมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและสามารถควบคุมโรคเรื้อรังได้อย่างเหมาะสม
ตัวชี้วัด : 2.ร้อยละ 80 ผู้ป่วยเรื้อรังไม่เกิดภาวะแทรกซ้อน
80.00

 

3 3.เพื่อเสริมสร้างความรู้ให้กับแกนนำสุขภาพ
ตัวชี้วัด : 3.ร้อยละ 90 ของแกนนำสุขภาพมีความรู้และทักษะในการจัดการสุขภาพของตนเองและครอบครัว
90.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 180
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 180
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อประเมินผู้ป่วยเรื้อรัง-ติดเตียง-ผู้พิการ-ผู้สูงอายุ-ผู้ป่วยเรื้อรังระยะท้าย ได้รับการดูแลตามมาตรฐานวิชาชีพเฉพาะโรค และลดภาวะแทรกซ้อนโรคหลอดเลือดสมอง หัวใจ ไตวาย (2) 2.เพื่อให้ผู้ป่วยมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและสามารถควบคุมโรคเรื้อรังได้อย่างเหมาะสม (3) 3.เพื่อเสริมสร้างความรู้ให้กับแกนนำสุขภาพ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 งานภาคประชาชนแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการส่งเสริมสุขภาพและแก้ไขปัญหาสุขภาพในชุมชน (2) กิจกรรมที่ 2 งานควบคุมโรคไม่ติดต่อ (3) กิจกรรมที่ 3 สร้างความตระหนักรู้ในการจัดการสุขภาพตนเองของผู้ป่วยโรคเรื้อรังและแกนนำสุขภาพเพื่อเฝ้าระวังการเกิดโรคไตวายเรื้อรัง (4) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (5) ค่าอาหารเช้า (6) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (7) ค่าอาหารกลางวัน (8) ค่าตอบแทนวิทยากร (9) ค่าวัสดุ อุปกรณ์ในการจัดฐาน (10) ค่าโปสเตอร์โฟมบอร์ดความรู้โรคไตวาย โรคหลอดเลือดสมอง โรคหลอดเลือดหัวใจ (11) ค่าแฟ้มใส่เอกสารประวัติการตรวจรักษาผู้ป่วยเรื้อรัง (12) ค่าสติกเกอร์เตือนใจ รู้ไว ไปเร็ว ปลอดภัย จากโรคหลอดเลือดสมองติดที่บ้านผู้ป่วย (13) ค่านวัตกรรมกระเป๋าผ้ากันลืม (14) ค่าเครื่องวัดความเค็มในอาหารแบบพกพา (Salt Meter) (15) ค่าเครื่องตรวจวัดความเค็มในปัสสาวะ KME-03

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการการส่งเสริมการจัดการสุขภาพแบบองค์รวม ในเขตพื้นที่ ศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง ศูนย์สุขภาพชุมชนพาณิชย์สร้างสุข และศูนย์สุขภาพชุมชนกุโบร์รวมใจ จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ L7250-1-09

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางวสุธิดา นนทพันธ์ ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด