กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สาวอ


“ โครงการดูแลผู้สูงอายุและผู้ป่วยติดเตียงในชุมชน ประจำปี 2567 ”

ตำบลสาวอ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นายอามือดี ดีนา

ชื่อโครงการ โครงการดูแลผู้สูงอายุและผู้ป่วยติดเตียงในชุมชน ประจำปี 2567

ที่อยู่ ตำบลสาวอ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 67-L2516-2-02 เลขที่ข้อตกลง 4/67

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการดูแลผู้สูงอายุและผู้ป่วยติดเตียงในชุมชน ประจำปี 2567 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสาวอ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สาวอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการดูแลผู้สูงอายุและผู้ป่วยติดเตียงในชุมชน ประจำปี 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการดูแลผู้สูงอายุและผู้ป่วยติดเตียงในชุมชน ประจำปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสาวอ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 67-L2516-2-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 27,041.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สาวอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในปัจจุบันจำนวนผู้สูงอายุในประเทศไทยได้เพิ่มสูงขึ้นตามลำดับ สืบเนื่องมาจากความเจริญก้าวหน้า ทางด้านเทคโนโลยี การแพทย์ และสาธารณสุข ส่งผลให้อายุคาดเฉลี่ยของประชากรไทยเพิ่มขึ้น และจำนวน ผู้สูงอายุมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ในปีพ.ศ. 2560 จำนวนผู้สูงอายุเพิ่มเป็นร้อยละ 17.1 และในปีพ.ศ. 2563 มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 18.6 ของประชากรทั้งหมด ซึ่งตามคำนิยามขององค์การสหประชาชาติ กำหนดไว้ว่าประเทศใดมีประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป สัดส่วน เกินร้อยละ 10 ของประชากรทั้งประเทศ ถือว่าประเทศนั้นได้ก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ จะเห็นว่าการเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุและโครงสร้างของประชากรเปลี่ยนแปลงไปในลักษณะที่มีสัดส่วน ของผู้สูงอายุมากขึ้น ย่อมทำให้เกิดผลกระทบทั้งทางเศรษฐกิจและสังคม มีผลต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ จึงจำเป็นที่ทุกภาคส่วนจะต้องตระหนักและเตรียมการ โดยระดมทรัพยากรและสหวิทยาการต่างๆ เพื่อพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงทั้งทางด้านเศรษฐกิจ ด้านสุขภาพ ด้านสังคม การคุ้มครองดูแลผู้สูงอายุ ตลอดจนการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุอย่างเท่าเทียมกันในชุมชน อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หรือ อสม. มีบทบาทสำคัญในการดูแลสุขภาพของประชาชนในการดำเนินงานด้านสาธารณสุขในชุมชน จำเป็นต้องมีเครือข่ายสุขภาพที่เข้มแข็งและเข้าใจวิธีการทำงานเชิงรุกในพื้นที่ ซึ่งอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หรือ อสม.ที่ให้บริการแก่ชุมชนเป็นรูปแบบหนึ่งของการมีส่วนร่วมของประชาชนในการดูแลสุขภาพของตนเอง ครอบครัว และชุมชน และมีศักยภาพในการเข้าถึงประชาชนตามกลุ่มวัย โดยเฉพาะผู้สูงอายุ ที่อยู่ในพื้นที่ให้สามารถติดตามช่วยเหลือการเข้าถึงระบบสุขภาพ และสามารถจัดระบบบริหารจัดการด้านสุขภาพในชุมชนให้ผู้สูงอายุได้อย่างเหมาะสม ภายใต้การสนับสนุนจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล(รพ.สต.)ในพื้นที่ ใน เขตพื้นที่บริการของ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านสาวอ ซึ่งมีจำนวนประชากร ปี 2567 ทั้งหมด 2,497 คน ครอบคลุม 4 หมู่บ้าน แยกเป็นกลุ่มอายุที่ต้องดูแลตามกลุ่มวัย ดังนี้ กลุ่มอายุ 0-5 ปี จำนวน 210 คนคิดเป็นร้อยละ 8.41 กลุ่ม อายุ 6-15 ปีจำนวน 477 คน คิดเป็นร้อยละ 19.10 กลุ่มอายุ 16-18 ปี จำนวน 292 คน คิดเป็นร้อยละ11.69 ช่วงอายุ 18-25 ปี จำนวน 272 คน คิดเป็นร้อยละ 10.89 กลุ่มอายุ 25-59 ปี จำนวน 1,443 คน คิดเป็นร้อยละ 57.78 และ กลุ่มอายุ 60 ปีขึ้นไป จำนวน 267 คน คิดเป็นร้อยละ 11.69 ซึ่งการดูแลสุขภาพของประชาชน โดยเฉพาะกลุ่มผู้สูงอายุจำเป็นต้องดูแลอย่างต่อเนื่องตามบทบาทหน้าที่ของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน

ดังนั้น เพื่อให้ผู้สูงอายุ เข้าถึงระบบบริการสุขภาพตามมาตรฐาน จึงจำเป็นที่จะต้องจัดให้มีการอบรมให้ความรู้แก่แกนนำด้านสุขภาพ อสม. ตัวแทนสมาชิกครอบครัวผู้สูงอายุและส่งเสริมกิจกรรมการดูแลผู้สูงอายุที่บ้าน โดยทีมงานอาสาสมัครสาธารณสุขประจำ หมู่บ้าน(อสม.) ในการปฏิบัติงานได้ที่ถูกต้องเหมาะสม เพื่อให้ผู้สูงอายุในพื้นที่มีสุขภาพที่ดีอย่างยั่งยืนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อสร้างและพัฒนาอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านและประชาชนทั่วไปที่มีผู้สูงอายุในความดูแล มีความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพอย่างถูกต้อง 2. เพื่อให้ผู้สูงอายุในเขตรับผิดชอบของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านและตัวแทนสมาชิกครอบครัวผู้สูงอายุ ร่วมดูแลด้านสุขภาพผู้สูงอายุอย่างครอบคลุมเท่าเทียมกัน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ 267
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจ ในการดูแลสุขภาพตามกลุ่มวัย
    2. เพื่อเสริมสร้างความเข้าใจให้อาสาสมัครประจำหมู่บ้าน มีทักษะในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุในเขตรับผิดชอบ
    3. ประชาชนที่มีผู้สูงอายุในความดูแล มีทักษะ ความรู้ในการดูแลในการปฏิบัติตัวด้านสุขภาพของผู้สูงอายุ

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อสร้างและพัฒนาอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านและประชาชนทั่วไปที่มีผู้สูงอายุในความดูแล มีความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพอย่างถูกต้อง 2. เพื่อให้ผู้สูงอายุในเขตรับผิดชอบของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านและตัวแทนสมาชิกครอบครัวผู้สูงอายุ ร่วมดูแลด้านสุขภาพผู้สูงอายุอย่างครอบคลุมเท่าเทียมกัน
    ตัวชี้วัด : 1. มีอาสาสมัครสาธารณสุข และประชาชนทั่วไปที่มีผู้สูงอายุในความดูแลเข้ารับการอบรม 2. อาสาสมัครสาธารณสุขมีความรู้ในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ร้อยละ 80 3. ในเขตรับผิดชอบของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านได้รับการดูแลตามกลุ่มวัยด้านสุขภาพ มากกว่าร้อยละ 90

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 267
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ 267
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อสร้างและพัฒนาอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านและประชาชนทั่วไปที่มีผู้สูงอายุในความดูแล มีความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพอย่างถูกต้อง  2. เพื่อให้ผู้สูงอายุในเขตรับผิดชอบของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านและตัวแทนสมาชิกครอบครัวผู้สูงอายุ ร่วมดูแลด้านสุขภาพผู้สูงอายุอย่างครอบคลุมเท่าเทียมกัน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการดูแลผู้สูงอายุและผู้ป่วยติดเตียงในชุมชน ประจำปี 2567 จังหวัด นราธิวาส

    รหัสโครงการ 67-L2516-2-02

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายอามือดี ดีนา )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด