กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ควนโพธิ์


“ ขยับกาย สบายใจ ห่างไกลโรค Office Syndrome อบต.ควนโพธิ์ ”

ตำบลควนโพธิ์ อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม

ชื่อโครงการ ขยับกาย สบายใจ ห่างไกลโรค Office Syndrome อบต.ควนโพธิ์

ที่อยู่ ตำบลควนโพธิ์ อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 2/67 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 กรกฎาคม 2567 ถึง 31 ธันวาคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"ขยับกาย สบายใจ ห่างไกลโรค Office Syndrome อบต.ควนโพธิ์ จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลควนโพธิ์ อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ควนโพธิ์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ขยับกาย สบายใจ ห่างไกลโรค Office Syndrome อบต.ควนโพธิ์



บทคัดย่อ

โครงการ " ขยับกาย สบายใจ ห่างไกลโรค Office Syndrome อบต.ควนโพธิ์ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลควนโพธิ์ อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 2/67 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 กรกฎาคม 2567 - 31 ธันวาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,680.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ควนโพธิ์ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

พฤติกรรมและวิถีชีวิตของคนไทยในปัจจุบันพบว่ามีสภาวะการทำงานที่เร่งรีบ และเคร่งเครียด รวมไปถึงสภาพแวดล้อมในที่ทำงานในพื้นที่ที่จำกัด การทำงานที่ต้องนั่งหน้าคอมพิวเตอร์ หรือทำงานอย่างใดอย่างหนึ่งด้วย ท่าทางซ้ำ ๆ ต่อเนื่องเป็นเวลานาน ส่งผลให้เกิดโรค "ออฟฟิตซินโดรม" หรือกลุ่มอาการปวดกล้ามเนื้อและเยื่อพังผืด คืออาการปวดกล้ามเนื้ออันเนื่องมาจากการทำงานที่ใช้กล้ามเนื้อมัดเดิมซ้ำๆเป็นระยะเวลานานต่อเนื่อง ส่งผลให้ เกิดอาการกล้ามเนื้ออักเสบ และปวดเมื่อยตามอวัยวะต่างๆ ทั้ง หลัง ไหล่ บ่า แขน หรือข้อมือ เป็นต้น ดังนั้นเพื่อลดปัญหาทางสุขภาพจากการทำงานที่ต้องใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ กองสาธารณสุขและสิ่งแวกล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลควนโพธิ์ จึงได้จัดทำโครงการ “ขยับกาย สบายใจ ห่างไกลโรค Office Syndrome” อบต.ควนโพธิ์ เพื่อสร้างเสริมสุขภาพของคนทำงานในองค์ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้บุคลากรผู้ปฏิบัติงานที่จัดทำเอกสารด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ มีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับโรคออฟฟิตซินโดรมและทราบแนวทางการจัดการสภาพแวดล้อมในการท างานให้เหมาะสมมากขึ้น
  2. เพื่อเจ้าหน้าที่ อบต.ควนโพธิ์ มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการนั่งทำงานที่ดีขึ้น ป้องกันการเกิดอาการออฟฟิตซินโดรมที่เกิดจากการทำงาน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้กลุ่มเป้าหมายเรื่องการป้องกันการดูแลตนเองให้ปลอดจากโรค ออฟฟิตซินโดรม
  2. สรปุผลการดำเนินงาน
  3. ตรวจสุขภาพก่อนเข้าร่วมโครงการ จำนวน 50 คน
  4. ประชุมชี้แจงแกนนำและเจ้าหน้าที่ลูกจ้างทั้งหมด
  5. ติดตามผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของกลุ่มเป่้าหมาย จำนวน 50 คน
  6. คัดเลือกแกนนำที่มาจากกองกองละ 1 คน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

บุคลากรผู้ปฏิบัติงานมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การออกกำลังกาย และจัดการกับอารมณ์ที่เหมาะสมตลอดจนปรับสิ่งแวดล้อม ให้เอื้อต่อการทำงานเพื่อห่างไกลจากโรคออฟฟิตซินโดรม


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้บุคลากรผู้ปฏิบัติงานที่จัดทำเอกสารด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ มีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับโรคออฟฟิตซินโดรมและทราบแนวทางการจัดการสภาพแวดล้อมในการท างานให้เหมาะสมมากขึ้น
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของเจ้าหน้าที่และลูกจ้าง ของ อบต.ควนโพธิ์ ที่เข้าร่วมโครงการ มีความรู้เกี่ยวกับโรคออฟฟิต ซินโดรม และแนวทางการจัดการสภาพแวกล้อมในการทำงาน
50.00 40.00

 

2 เพื่อเจ้าหน้าที่ อบต.ควนโพธิ์ มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการนั่งทำงานที่ดีขึ้น ป้องกันการเกิดอาการออฟฟิตซินโดรมที่เกิดจากการทำงาน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของเจ้าหน้าที่และลูกจ้าง ของ อบต.ควนโพธิ์ ที่เข้าร่วมโครงการ มีทักษะในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อป้องกันการเกิดอาการออฟฟิตซินโดรมที่เกิดจากการทำงาน
50.00 40.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ 0
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้บุคลากรผู้ปฏิบัติงานที่จัดทำเอกสารด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ มีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับโรคออฟฟิตซินโดรมและทราบแนวทางการจัดการสภาพแวดล้อมในการท างานให้เหมาะสมมากขึ้น (2) เพื่อเจ้าหน้าที่ อบต.ควนโพธิ์ มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการนั่งทำงานที่ดีขึ้น ป้องกันการเกิดอาการออฟฟิตซินโดรมที่เกิดจากการทำงาน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้กลุ่มเป้าหมายเรื่องการป้องกันการดูแลตนเองให้ปลอดจากโรค ออฟฟิตซินโดรม (2) สรปุผลการดำเนินงาน (3) ตรวจสุขภาพก่อนเข้าร่วมโครงการ จำนวน 50 คน (4) ประชุมชี้แจงแกนนำและเจ้าหน้าที่ลูกจ้างทั้งหมด (5) ติดตามผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของกลุ่มเป่้าหมาย จำนวน 50 คน (6) คัดเลือกแกนนำที่มาจากกองกองละ 1 คน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ขยับกาย สบายใจ ห่างไกลโรค Office Syndrome อบต.ควนโพธิ์ จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 2/67

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด