กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บานา


“ โครงการส่งเสริมการใช้ยาสมเหตุผล (RDU) โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบานา ”

ห้องประชุมโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบลบานา อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางอาภรณ์ เจะอุบง

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมการใช้ยาสมเหตุผล (RDU) โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบานา

ที่อยู่ ห้องประชุมโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบลบานา อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 67-L3013-01-37 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 18 มิถุนายน 2567 ถึง 19 มิถุนายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมการใช้ยาสมเหตุผล (RDU) โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบานา จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ห้องประชุมโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบลบานา อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บานา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมการใช้ยาสมเหตุผล (RDU) โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบานา



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมการใช้ยาสมเหตุผล (RDU) โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบานา " ดำเนินการในพื้นที่ ห้องประชุมโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบลบานา อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 67-L3013-01-37 ระยะเวลาการดำเนินงาน 18 มิถุนายน 2567 - 19 มิถุนายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,750.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บานา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การใช้ยาอย่างสมเหตุสมผลเป็นการนำยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี สู่การพัฒนาระบบยา ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของระบบสุขภาพในระดับพื้นที่ให้มีการใช้ยา อย่างสมเหตุผล สอดคล้องตามแผนแม่บทการเสริมสร้างให้คนไทยมีสุขภาวะที่ดีซึ่งได้กำหนดเป้าหมายคือการมีชุมชน สุขภาพดี การมีระบบสาธารณสุขที่ได้มาตรฐานที่ประชาชนทุกระดับเข้าถึงได้ดีขึ้น และประชาชนมีความรอบรู้ด้านสุข ภาวะสามารถดูแลสุขภาพและมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ เพื่อให้มีการใช้ยาอย่างสมเหตุผล และแก้ปัญหายาในชุมชน ที่ส่งผลต่อการ ใช้ยาอย่างสมเหตุผล อย่างเป็นระบบและยั่งยืน โดยมีเป้าหมาย ให้ประชาชนปลอดภัยจากการใช้ยา ใช้ยาอย่างมี ประสิทธิผล คุ้มค่ามีความรอบรู้ในการใช้ยา และสามารถดูแลสุขภาพตนเองเบื้องต้นเมื่อเจ็บป่วย การใช้ยาอย่างไม่มีข้อบ่งชี้, การใช้ยาซ้ำซ้อนหลายขนานมากเกินความจำเป็น และการใช้ยาปฏิชีวนะ ยาชุดอย่างไม่สมเหตุผล ร้านขายของชำในชุมชนและห้องพยาบาลของโรงเรียนและสถานศึกษาเป็นสถานที่พึ่งของนักเรียนและประชาชนเมื่อเกิดอาการเจ็บป่วยขึ้น ในการรักษาอาการเจ็บป่วยและการปฐมพยาบาลเบื้องต้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบานา โรงเรียนในความดูแลทั้งหมด จำนวน 8 โรงเรียน โรงเรียนสอนศาสนาจำนวน 10 โรงเรียนจากการตรวจประเมินโรงเรียนพบว่า บางโรงเรียนมีตู้ยาที่ไม่ได้มาตรฐาน การจัดเรียงยายังไม่ถูกต้องไม่มีการจดบันทึกการจ่ายยา โรงเรียนศาสนาบางแห่ง ไม่มีการสำรองยาสามัญประจำบ้านและจากการสำรวจร้านขายของชำในปี 2566 ในชุมชนตำบลบานา อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี พบว่าพบสารเคมีไม่ได้ฐานผสมอยู่ในเครื่องสำอางบางประเภท มีการจัดเก็บยาที่ไม่ถูกต้อง และมีการจำหน่ายยาปฏิชีวนะ ยาลูกกลอน และยาชุดในบางร้าน ดังนั้นเพื่อเป็นการสนับสนุนนโยบายกระทรวงสาธารณสุขและจังหวัดปัตตานีดังสโลแกนที่ว่า “ชาวปัตตานีรอบรู้ เครือข่ายร่วมมือ ใช้ยาปลอดภัยสมเหตุผล” โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบานเล็งเห็นความสำคัญของการป้องกันไม่ให้การรับประทานยาที่ถูกต้อง ถูกขนาด และปลอดภัยและเพื่อเป็นการพัฒนาศักยภาพของครูอนามัยโรงเรียน ครูโรงเรียนสอนศาสนา และผู้ประกอบการร้านชำในพื้นที่ เพื่อให้นักเรียน บุคลากรในโรงเรียน และประชาชนในพื้นที่มีความปลอดภัยและมีการใช้ยาอย่างสมเหตุผล

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อสร้างความปลอดภัยการใช้ยาในโรงเรียนและการจัดการด้านระบบยาที่ถูกต้องและได้มาตรฐาน
  2. เพื่อเป็นร้านชำต้นแบบที่ไม่มียาชุด ยาอันตราย ยาปฏิชีวนะ จำหน่าย
  3. เพื่อให้ผู้ประกอบการร้านชำมีความรู้ความเข้าในเรื่องยาที่ขายได้ในร้านชำ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้ครูอนามัยโรงเรียน ครูการพยาบาล ของสถานศึกษา
  2. อบรมให้ความรู้ผู้ประกอบการร้านชำ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ครูและเด็กมีความปลอดภัยการใช้ยาในโรงเรียนและได้รับยาที่ปลอดภัยถูกต้องและได้มาตรฐาน

2.ครูมีความรอบรู้ด้านการใช้ยาอย่างสมเหตุผลในโรงเรียน (RDU Literacy in school)

3.ครูสามารถนำความรู้ที่ได้จากการอบรมครั้งนี้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด และสามารถนำความรู้ที่ได้ไปถ่ายทอดให้นักเรียนและชุมชน

4.ได้ร้านชำ RDUต้นแบบที่ไม่จำหน่ายยาอันตราย

5.ผู้ประกอบการร้านชำมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องยาที่ไม่สามารถจำหน่ายได้ในร้านชำ

6.ได้ร้านชำ RDUต้นแบบที่ไม่จำหน่ายยาอันตราย


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อสร้างความปลอดภัยการใช้ยาในโรงเรียนและการจัดการด้านระบบยาที่ถูกต้องและได้มาตรฐาน
ตัวชี้วัด : ผู้เข้ารับการอบรมมีความรอบรู้การใช้ยาอย่างอย่างสมเหตุผล ร้อยละ 100
100.00

 

2 เพื่อเป็นร้านชำต้นแบบที่ไม่มียาชุด ยาอันตราย ยาปฏิชีวนะ จำหน่าย
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของร้านชำจำหน่ายยาที่มีความถูกต้อง ปลอดภัย
80.00

 

3 เพื่อให้ผู้ประกอบการร้านชำมีความรู้ความเข้าในเรื่องยาที่ขายได้ในร้านชำ
ตัวชี้วัด : ผู้ประกอบการร้านชำมีความรู้ความเข้าในเรื่องยาที่ขายได้ในร้านชำ ร้อยละ 80
80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างความปลอดภัยการใช้ยาในโรงเรียนและการจัดการด้านระบบยาที่ถูกต้องและได้มาตรฐาน (2) เพื่อเป็นร้านชำต้นแบบที่ไม่มียาชุด ยาอันตราย ยาปฏิชีวนะ จำหน่าย (3) เพื่อให้ผู้ประกอบการร้านชำมีความรู้ความเข้าในเรื่องยาที่ขายได้ในร้านชำ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้ครูอนามัยโรงเรียน ครูการพยาบาล ของสถานศึกษา (2) อบรมให้ความรู้ผู้ประกอบการร้านชำ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมการใช้ยาสมเหตุผล (RDU) โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบานา จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 67-L3013-01-37

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางอาภรณ์ เจะอุบง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด