กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บานา


“ โครงการนักเรียนวัยใส อนามัยดี ไม่มีเหา ด้วยยาสมุนไพร ”

ห้องประชุมโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบลบานา อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางอาภรณ์ เจะอุบง

ชื่อโครงการ โครงการนักเรียนวัยใส อนามัยดี ไม่มีเหา ด้วยยาสมุนไพร

ที่อยู่ ห้องประชุมโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบลบานา อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 67-L3013-01-36 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 10 มิถุนายน 2567 ถึง 30 สิงหาคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการนักเรียนวัยใส อนามัยดี ไม่มีเหา ด้วยยาสมุนไพร จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ห้องประชุมโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบลบานา อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บานา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการนักเรียนวัยใส อนามัยดี ไม่มีเหา ด้วยยาสมุนไพร



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการนักเรียนวัยใส อนามัยดี ไม่มีเหา ด้วยยาสมุนไพร " ดำเนินการในพื้นที่ ห้องประชุมโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบลบานา อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 67-L3013-01-36 ระยะเวลาการดำเนินงาน 10 มิถุนายน 2567 - 30 สิงหาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 35,510.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บานา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคเหา เป็นโรคที่พบบ่อยมากในเด็กนักเรียนอนุบาล ประถมศึกษา โดยเฉพาะนักเรียนหญิง เกิดจากการไม่รักษาความสะอาดของร่างกาย เครื่องนอน ติดต่อจากการสัมผัสใกล้ชิดกับคนที่เป็น หรือติดจากสัตว์เลี้ยงเป็นต้น เหาจะคอยดูดเลือดกินเป็นอาหารในน้ำลายของเหามีสารที่ระคายเคืองผิวได้ ทำให้เกิดตุ่มคันตรงรอยกัด โดยที่เหาเกิดจากเชื้อปรสิต ชื่อวิทยาศาสตร์เรียกว่า Pediculus humanus ซึ่งอาศัยอยู่บนหนังศีรษะ เส้นผม ขน ปรสิตชนิดนี้จะคอยดูดเลือดกินเป็นอาหาร และวางไข่บนเส้นเลือด โดยหลั่งสารไคตินหุ้มปลายหนึ่งของไข่ ให้เกาะติดแน่นอยู่ มองเห็นได้ด้วยตาเปล่า เด็กเป็นเหาจะมีอาการคันมากและเกาจนหนังศีรษะถลอก เกิดเป็นการอักเสบ หนอง สะเก็ดแห้งกรัง และเป็นแผลติดเชื้อแบคทีเรียได้ บางรายอาจมีอาการรุนแรงทำให้ผมร่วงได้ ทำให้เด็กเสียสมาธิในการเรียน และยังทำให้สุขภาพไม่ดี ก่อให้เกิดความรำคาญกับผู้ที่เป็น

ปีงบประมาณ 2566 จากการตรวจสุขภาพเด็กนักเรียน (ระดับประถมศึกษา) พร้อมกับทีมเจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบงานอนามัยโรงเรียน มีโรงเรียนในตำบลบานาทั้งหมด 7 แห่ง ได้แก่ โรงเรียนดารุลบารอกะฮฺ โรงเรียนบานา โรงเรียนกูวิง โรงเรียนจือโระ โรงเรียนยูโย โรงเรียนเมืองปัตตานี และโรงเรียนปัญญาวิทย์ พบว่า โรงเรียนบ้านกูวิง , โรงเรียนบ้านบานา ,และโรงเรียนบ้านจือโระ มีเด็กนักเรียนที่มีโรคเหา คิดเป็นร้อยละ 72.97 , 72.09 และ 70.58 ตามลำดับ

ด้วยเหตุนี้ คลินิกแพทย์แผนไทย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบานา จึงได้จัดทำการศึกษาค้นคว้าสมุนไพรภูมิปัญญาท้องถิ่น พบว่า ใบน้อยหน่า ใบขี้เหล็กและลูกมะกรูด มีสรรพคุณกำจัดเหาได้ดีมาก โดยไม่เป็นอันตรายและไม่ก่อให้เกิดอาการแพ้เหมือนใช้สารเคมีซึ่งอาจเป็นอันตรายต่อชีวิตได้ อีกทั้งยังสามารถรักษาเด็กที่เป็นเหา ป้องกันโรคเหา และลดการระบาดของโรคต่อไป

สถิตินักเรียนในโรงเรียนเขตตำบลบานาได้รับการตรวจสุขภาพ เมื่อปี พ.ศ. 2566 โรงเรียนบ้านกูวิง มีจำนวนนักเรียนหญิง 37 คน มีจำนวนนักเรียนหญิงที่เป็นเหา 27 คน คิดเป็นร้อยละ 72.97 โรงเรียนบ้านบานา มีจำนวนนักเรียนหญิง 43 คน มีจำนวนนักเรียนหญิงที่เป็นเหา 31 คน คิดเป็นร้อยละ 72.09 และโรงเรียนบ้านจือโระ มีจำนวนนักเรียนหญิงที่เป็นเหา 27 คน คิดเป็นร้อยละ 72.97 โรงเรียนบ้านบานา มีจำนวนนักเรียนหญิง 51 คน มีจำนวนนักเรียนหญิงที่เป็นเหา 36 คน คิดเป็นร้อยละ 70.58

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อรักษาและควบคุมการระบาดของโรคเหาในเด็กนักเรียน
  2. เพื่อให้เด็ก นักเรียน มีสุขภาพที่ดีป้องกันไม่ให้เกิดโรคเหาในนักเรียนรายใหม่
  3. เพื่อเสริมสร้างใช้ภูมิปัญญา (สมุนไพรพื้นบ้าน)ในการกำจัดเหาแทนการใช้ยาแผนปัจจุบัน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมคัดกรอง,ให้สุขศึกษา,สาธิตทำสมุนไพรกำจัดเหาเชิงปฏิบัติการ
  2. กิจกรรมที่ ติดตาม นักเรียนวัยใสไร้เหา

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 137
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.นักเรียนมีความรู้ และสามารถนำไปปฏิบัติที่บ้านได้ และสามารถดูแลรักษาความสะอาดของร่างกายของตนเองได้อย่างถูกต้อง

2.จำนวนนักเรียนที่เป็นโรคเหาภายในโรงเรียนลดลง

3.ไม่เกิดโรคเหาในนักเรียนรายใหม่

4.นักเรียนมีสมาธิในการเรียนเพิ่มขึ้น มีบุคลิกภาพดีขึ้น


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อรักษาและควบคุมการระบาดของโรคเหาในเด็กนักเรียน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 70 ของนักเรียนที่เป็นโรคเหาได้รับการกำจัดเหาและหายการการเป็นเหา
70.00

 

2 เพื่อให้เด็ก นักเรียน มีสุขภาพที่ดีป้องกันไม่ให้เกิดโรคเหาในนักเรียนรายใหม่
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของนักเรียนรายใหม่ไม่เป็นโรคเหา
80.00

 

3 เพื่อเสริมสร้างใช้ภูมิปัญญา (สมุนไพรพื้นบ้าน)ในการกำจัดเหาแทนการใช้ยาแผนปัจจุบัน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของนักเรียนที่เข้าโครงการสามารถใช้สมุนไพรพื้นบ้านทดแทนการใช้ยาแผนปัจจุบันได้
80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 137
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 137
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อรักษาและควบคุมการระบาดของโรคเหาในเด็กนักเรียน (2) เพื่อให้เด็ก นักเรียน มีสุขภาพที่ดีป้องกันไม่ให้เกิดโรคเหาในนักเรียนรายใหม่ (3) เพื่อเสริมสร้างใช้ภูมิปัญญา (สมุนไพรพื้นบ้าน)ในการกำจัดเหาแทนการใช้ยาแผนปัจจุบัน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมคัดกรอง,ให้สุขศึกษา,สาธิตทำสมุนไพรกำจัดเหาเชิงปฏิบัติการ (2) กิจกรรมที่ ติดตาม นักเรียนวัยใสไร้เหา

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการนักเรียนวัยใส อนามัยดี ไม่มีเหา ด้วยยาสมุนไพร จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 67-L3013-01-36

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางอาภรณ์ เจะอุบง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด