กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางตาวา


“ โครงการโรงเรียนปลอดขยะ Zero waste school โดยการมีส่วนร่วมกับชุมชนการ สร้างเสริมสุขภาพหรือการป้องกันโรค รุ่นที่ 2 ”



หัวหน้าโครงการ
นายโอภาส ภูดินดาน

ชื่อโครงการ โครงการโรงเรียนปลอดขยะ Zero waste school โดยการมีส่วนร่วมกับชุมชนการ สร้างเสริมสุขภาพหรือการป้องกันโรค รุ่นที่ 2

ที่อยู่ จังหวัด

รหัสโครงการ 67-L3068-10(2)-11 เลขที่ข้อตกลง 11/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการโรงเรียนปลอดขยะ Zero waste school โดยการมีส่วนร่วมกับชุมชนการ สร้างเสริมสุขภาพหรือการป้องกันโรค รุ่นที่ 2 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางตาวา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการโรงเรียนปลอดขยะ Zero waste school โดยการมีส่วนร่วมกับชุมชนการ สร้างเสริมสุขภาพหรือการป้องกันโรค รุ่นที่ 2



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการโรงเรียนปลอดขยะ Zero waste school โดยการมีส่วนร่วมกับชุมชนการ สร้างเสริมสุขภาพหรือการป้องกันโรค รุ่นที่ 2 " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ 67-L3068-10(2)-11 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 26,770.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางตาวา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมที่รุนแรงมากขึ้นทุกวันนี้ ส่วนหนึ่งมาจาก ขยะ ซึ่งเป็นปัญหาพื้นฐานของชุมชนและโรงเรียนบ้านบ้านปากบางตาวา ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมภายในชุมชนและโรงเรียน อาทิเช่น เป็นแหล่งอาหารและแหล่งเพาะพันธุ์ของพาหะนำโรค เช่น แมลงวัน แมลงสาบ ยุงฯลฯ เป็นแหล่งแพร่กระจายเชื้อโรคมีกลิ่นเหม็นก่อให้เกิดความรำคาญ ทำลายสุนทรียภาพด้านสิ่งแวดล้อม เกิดสภาพไม่น่าดู สกปรกน่ารังเกียจ ขยะทำให้น้ำเสียที่มีความสกปรกสูงมากเกิดกลิ่นรบกวนเป็นแหล่งสะสมเชื้อโรคส่งผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยของนักเรียนและประชาชน   องค์การอนามัยโลก(World Health Organizationะ WHO) ได้ให้ความหมายแก่ขยะมูลฝอยไว้ว่าคือสิ่งของจากบ้านเรือนที่ประชาชนไม่ต้องการแล้วมีผู้นำไปใช้ประโยชน์จนสุดท้ายไม่มีผู้นำไปใช้ประโยชน์ได้แล้วและถูกทิ้ง ให้กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไปกำจัดจัดเก็บและขนส่งนั่นหมายความว่าสิ่งของที่เราทิ้งจากที่บ้านถ้ายังมีคนนำไปใช้ประโยชน์ต่อได้สิ่งนั้นก็จะยังไม่ใช่ขยะจากความหมายดังกล่าวได้รับการตอกย้ำด้วยแนวคิดที่เห็นคุณค่าจากขยะดังเช่น "พอเพียง 5 enough" "ขยะคือทรัพยากร" การใช้ทรัพยากรอย่างพอดีเห็นคุณค่าบวกกับการใช้ภูมิปัญญาชาวบ้านกับวัสดุเหลือใช้ที่มีรอบบ้านเป็นแนวทางหนึ่งในการแก้ปัญหาขยะ นอกจากนี้สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการได้จัดทำแผนแม่บทการบริหารจัดการขยะมูลฝอยของ ประเทศ (พ.ศ.2559-2564) ตามนโยบายของรัฐบาลในการจัดการขยะมูลฝอย เพื่อเป็นการสร้างจิตสำนึก และรณรงค์การคัดแยกขยะประเภทขยะมูลฝอยที่ต้นทางให้แก่นักเรียนและเยาวชนในโรงเรียนและสถานศึกษาทุกแห่งในสังกัด โดยโรงเรียนบ้านปากบางตาวาตั้งอยู่ในพื้นที่ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี เปิดทำการสอนตั้งแต่ระดับชั้นอนุบาล 1ถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มีจํานวนนักเรียน 232 คน ผู้บริหาร คณะครูและบุคลากรทางการศึกษา 30 คน รวมทั้งสิ้น 262 คน โดยเด็กนักเรียนส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในพื้นที่ ม.1 ตำบลบางตาวาซึ่งเป็นเป็นชุมชนที่จำนวนขยะตกค้างเป็นจำนวนมากเนื่องจากเด็ก เยาวชน และประชาชนยังขาดความรู้ความเข้าใจใน การคัดแยกขยะ ขาดจิตสำนึกในการทิ้งขยะลงถัง ทำให้เกิดขยะตกค้างและสกปรกส่งกลินเหม็นและเป็นแหล่งอาหารและแหล่งเพาะพันธุ์ของพาหะนำโรค ดังนั้นเพื่อให้ทุกคนตระหนักถึงความสำคัญของ    เรื่องดังกล่าวและส่งเสริมสนับสนุนการสร้างเครือข่ายสถานศึกษา ที่ดำเนินกิจกรรม ลด คัดแยก และนำกลับขยะมาใช้ประโยชน์ การรวบรวมขยะเพื่อส่งไปกำจัดอย่างถูกต้อง ปลูกฝังจิตสำนึก การลดคัดแยกขยะ และนำขยะกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ในสถานศึกษา สร้างระบบการเรียนรู้ผ่านกิจกรรมต่าง ๆ และส่งเสริมการมีส่วนร่วมของผู้เรียนในการจัดการขยะภายในสถานศึกษา เพื่อมุ่งสู่สถานศึกษาปลอดขยะอย่างแท้จริงตลอดจนขยายผลต่อจนกลายเป็นชุมชนปลอดขยะต่อไป ดังนั้นโรงเรียนบ้านปากบางตาวาจึงดำเนินโครงการโรงเรียนปลอดขยะ (Zero Waste School) โดยการมีส่วนร่วมกับชุมชน "การสร้างเสริมสุขภาพหรือการป้องกันโรค" ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ส่งเสริมความรู้การคัดแยกประเภทขยะ
  2. นักคิดประดิษฐ์สร้างสรรค์กระถางรักษ์โลก
  3. บ้านปลอดขยะ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 230
กลุ่มวัยทำงาน 30
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. นักเรียนในโรงเรียน ครูบุคลากร ผู้ปกครองรวมถึงชาวบ้านในชุมชนได้รับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวส่งเสริมความรู้การคัดแยก ประเภทขยะ8๐ %
  2. นักเรียนสามารถออกแบบความคิดสร้างสรรค์โดยการประดิษฐ์สร้างสรรค์ กระถางรักษ์โลก จากใบไม้ที่ร่วงหล่นในโรงเรียนกลับมาใช้ให้เกิดประโยชน์อีกทั้งยังสามารถสร้างอาชีพและสร้างรายได้ให้กับตัวเองอีกด้วย
  3. นักเรียนในโรงเรียนบ้านปากบางตาวารู้จักรักษ์ดูแลและช่วยกันทำความสะอาดโรงเรียนบ้านปากบางตาวาให้ปราศจากขยะ มีสิ่งแวดล้อมที่สวยงามและเอื้อต่อการจัดการเรียนรู้ 4.ชุมชนมีบ้านตัวอย่าง ปลอดขยะ”

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 260
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 230
กลุ่มวัยทำงาน 30
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ส่งเสริมความรู้การคัดแยกประเภทขยะ (2) นักคิดประดิษฐ์สร้างสรรค์กระถางรักษ์โลก (3) บ้านปลอดขยะ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการโรงเรียนปลอดขยะ Zero waste school โดยการมีส่วนร่วมกับชุมชนการ สร้างเสริมสุขภาพหรือการป้องกันโรค รุ่นที่ 2 จังหวัด

รหัสโครงการ 67-L3068-10(2)-11

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายโอภาส ภูดินดาน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด