โครงการนักเรียนวัยใส อนามัยดี๊ดี ไม่มีเหา
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการนักเรียนวัยใส อนามัยดี๊ดี ไม่มีเหา ”
ตำบลปาเสมัส อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางมารีดา ฮัจญีหมัดสกุล
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลปาเสมัส
กันยายน 2567
ชื่อโครงการ โครงการนักเรียนวัยใส อนามัยดี๊ดี ไม่มีเหา
ที่อยู่ ตำบลปาเสมัส อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 67-L2535-01-22 เลขที่ข้อตกลง 21/67
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการนักเรียนวัยใส อนามัยดี๊ดี ไม่มีเหา จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปาเสมัส อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลปาเสมัส ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการนักเรียนวัยใส อนามัยดี๊ดี ไม่มีเหา
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการนักเรียนวัยใส อนามัยดี๊ดี ไม่มีเหา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปาเสมัส อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 67-L2535-01-22 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 46,820.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลปาเสมัส เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคเหาที่หนังศีรษะ เป็นโรคที่พบบ่อยมากในเด็กนักเรียนอนุบาล ประถมศึกษา โดยเฉพาะนักเรียนหญิง เหาจะคอยดูดเลือดกินเป็นอาหาร ในน้ำลายของเหามีสารที่ระคายผิวหนังได้ ท้าให้เกิดตุ่มคันตรงรอยกัด โดยที่เหา เกิดจากเชื้อปาราสิต ชื่อวิทยาศาสตร์เรียกว่า Pediculus humanus ซึ่งอาศัยอยู่บนหนังศีรษะ เส้นผม ขน ปาราสิต ชนิดนี้จะคอยดูดเลือดกินเป็นอาหาร และวางไข่บนเส้นผม โดยหลั่งสารไคตินหุ้มปลายหนึ่งของไข่ ให้เกาะติดแน่นอยู่ มองเห็นได้ด้วยตาเปล่า เด็กเป็นเหาจะมีอาการคันมากและเกาจนหนังศีรษะถลอก อักเสบ และเป็นแผลติดเชื้อได้ ท้าให้เสียสมาธิในการเรียน บางคนไม่มีอาการมากเท่าใด แต่อาจสร้างความรำคาญได้
พบว่าเด็กผู้หญิงที่มีเหาที่หนังศีรษะ สามารถแพร่การติดเชื้อให้แก่เพื่อนๆ ภายในชั้นเรียนเดียวกัน ภายใน ๒๔ ชม. ไข่มีขนาดเล็ก ประมาณ 0.5-1 มม. ฟักเป็นตัวอ่อนของเหาภายในหนึ่งสัปดาห์ มองเห็นได้ด้วยตาเปล่า มักจะทำให้เกิดอาการคันที่บริเวณด้านหลังและด้านตรงศีรษะ ถ้าเกามากเป็นหนอง สะเก็ดแห้งกรังได้ บางครั้งเกิด การติดเชื้อแบคทีเรียแทรกซ้อนทำให้ต่อมน้ำเหลืองที่บริเวณท้ายทอยและข้างคอโตได้
สถานการณ์การเป็นเหาของนักเรียนในสังกัดเทศบาลตำบลปาเสมัส (3 แห่ง) ข้อมูล ณ วันที่ ๒๔ พฤษภาคม ๒๕๖6 เป็นไปตาม ตารางดังต่อไปนี้
ที่ โรงเรียน จำนวน นร. ทั้งหมด(คน) จำนวน นร. หญิงทั้งหมด (คน) จำนวนนร.
ที่เป็นเหา(คน) ร้อยละของ (นร.หญิง)
1 โรงเรียนตือระมิตรภาพที่ 172327 93 52 55.91
2 โรงเรียนบ้านมือบา 159 65 34 52.30
3 โรงเรียนบ้านลูโบะซามา 166 63 36 57.14
รวม 652 221 122 55.20
จากสถานการณ์ดังกล่าว แสดงให้เห็นได้ว่าการเกิดเหาในเด็กนักเรียนปีการศึกษา 2566 คิดเป็นร้อยละ 55.20 ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปาเสมัส ได้เห็นความสำคัญของโรคเหา จึงได้จัดทำโครงการ นักเรียนวัยใส อนามัยดี๊ดี ไม่มีเหา ปีการศึกษา 2567 (เทอมที่ 1) โดยใช้กลวิธีกำจัดเหาโดยให้ครู นักเรียน มีส่วนร่วม ในการเฝ้าระวังควบคุมและ ป้องกันโรคได้อย่างประสิทธิภาพ สามารถลดอัตราการเป็นเหาในโรงเรียนได้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ความรู้แก่นักเรียนเกี่ยวกับโรคเหามีความตระหนัก การดูแลตัวเองและรักษาโรคเหา
- เพื่อรักษาและควบคุมการระบาดของโรคเหาในเด็กนักเรียน
- เพื่อลดจำนวนนักเรียนที่เป็นโรคเหาภายในโรงเรียน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมกำจัดเหาในเด็กนักเรียนสมุนไพรกำจัดเหา ในนักเรียนชั้น ป.1 - ป.6 ที่เป็นเหา จำนวน 122 คน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
122
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ และปฏิบัติการกำจัดเหาอย่างถูกต้องและต่อเนื่อง
๒. จำนวนนักเรียนที่เป็นโรคเหาภายในโรงเรียนลดลง
๓. ไม่เกิดเหาในนักเรียนรายใหม่
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. กิจกรรมกำจัดเหาในเด็กนักเรียนสมุนไพรกำจัดเหา ในนักเรียนชั้น ป.1 - ป.6 ที่เป็นเหา จำนวน 122 คน
วันที่ 15 สิงหาคม 2567 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
๔.๑ ขั้นเตรียมการ ติดต่อประสานงาน จัดทำหนังสือเชิญและขอความร่วมมือในการประสานงานผู้เข้าร่วมโครงการ ประสานการจัดเตรียมสถานที่ทำกิจกรรม จัดเตรียมอุปกรณ์ในการทำกิจกรรม
๔.๒ ขั้นการดำเนินงาน
- ประสานงานครูของทุกโรงเรียนในสังกัดโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปาเสมัสรับผิดชอบ ทั้งหมด 3โรงเรียน คือ โรงเรียนบ้านตือระมิตรภาพที่ 172 โรงเรียนบ้านมือบา และโรงเรียนบ้านลูโบ๊ะซามา
4.3 การค้นหาและคัดกรองเด็กที่เป็นโรคเหา (โดยครูประจำชั้น) และรวบรวมผลการประเมินคัดกรอง ของทุกโรงเรียน
4.4 ให้ความรู้แก่นักเรียนในโรงเรียนในการดูแลรักษาความสะอาดของร่างกายและศีรษะ ที่จะช่วยป้องกันโรคเหาและลดการแพร่ระบาดต่อไป
4.5 ดำเนินการสาธิตแก่นักเรียนแกนนำในโรงเรียนที่ต้องกำจัดเหาในการสำรวจเหาก่อนกำจัด เทคนิคการกำจัดเหาโดยใช้เวชภัณฑ์ยาอย่างถูกวิธี การใช้สมุนไพรกำจัดเหา
๔.6 จัดทำกิจกรรมกำจัดเหาที่โรงเรียนและที่บ้าน ด้วยวิธีการดังนี้
๑. หมักเหาด้วยแชมพูฆ่าเหา จำนวน ๒ ครั้ง(ห่างกัน ๑ สัปดาห์)
๒. สระผมทุกวันหลังการหมัก จำนวน ๕ วัน
3. ประเมินผลการเป็นเหาซ้ำหลังการดำเนินงานโดยติดตามอีก ๑ เดือน
๔.๕ สรุปผลการประเมินคัดกรองและรายงานผล ครูประจำชั้นและครูรับผิดชอบงานอนามัยโรงเรียน ดูแล ติดตาม พฤติกรรมการรักษาความสะอาดของเด็กนักเรียนอย่างสม่ำเสมอ
๔.๖ การประเมินผล จัดเตรียมรายงานและการประเมินผล สรุปรายงานผลการดำเนินงาน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
๑. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ และปฏิบัติการกำจัดเหาอย่างถูกต้องและต่อเนื่อง
๒. จำนวนนักเรียนที่เป็นโรคเหาภายในโรงเรียนลดลง
๓. ไม่เกิดเหาในนักเรียนรายใหม่
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ความรู้แก่นักเรียนเกี่ยวกับโรคเหามีความตระหนัก การดูแลตัวเองและรักษาโรคเหา
ตัวชี้วัด :
0.00
2
เพื่อรักษาและควบคุมการระบาดของโรคเหาในเด็กนักเรียน
ตัวชี้วัด :
0.00
3
เพื่อลดจำนวนนักเรียนที่เป็นโรคเหาภายในโรงเรียน
ตัวชี้วัด :
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
122
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
122
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ความรู้แก่นักเรียนเกี่ยวกับโรคเหามีความตระหนัก การดูแลตัวเองและรักษาโรคเหา (2) เพื่อรักษาและควบคุมการระบาดของโรคเหาในเด็กนักเรียน (3) เพื่อลดจำนวนนักเรียนที่เป็นโรคเหาภายในโรงเรียน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมกำจัดเหาในเด็กนักเรียนสมุนไพรกำจัดเหา ในนักเรียนชั้น ป.1 - ป.6 ที่เป็นเหา จำนวน 122 คน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการนักเรียนวัยใส อนามัยดี๊ดี ไม่มีเหา จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 67-L2535-01-22
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางมารีดา ฮัจญีหมัดสกุล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการนักเรียนวัยใส อนามัยดี๊ดี ไม่มีเหา ”
ตำบลปาเสมัส อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางมารีดา ฮัจญีหมัดสกุล
กันยายน 2567
ที่อยู่ ตำบลปาเสมัส อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 67-L2535-01-22 เลขที่ข้อตกลง 21/67
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการนักเรียนวัยใส อนามัยดี๊ดี ไม่มีเหา จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปาเสมัส อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลปาเสมัส ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการนักเรียนวัยใส อนามัยดี๊ดี ไม่มีเหา
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการนักเรียนวัยใส อนามัยดี๊ดี ไม่มีเหา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปาเสมัส อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 67-L2535-01-22 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 46,820.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลปาเสมัส เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคเหาที่หนังศีรษะ เป็นโรคที่พบบ่อยมากในเด็กนักเรียนอนุบาล ประถมศึกษา โดยเฉพาะนักเรียนหญิง เหาจะคอยดูดเลือดกินเป็นอาหาร ในน้ำลายของเหามีสารที่ระคายผิวหนังได้ ท้าให้เกิดตุ่มคันตรงรอยกัด โดยที่เหา เกิดจากเชื้อปาราสิต ชื่อวิทยาศาสตร์เรียกว่า Pediculus humanus ซึ่งอาศัยอยู่บนหนังศีรษะ เส้นผม ขน ปาราสิต ชนิดนี้จะคอยดูดเลือดกินเป็นอาหาร และวางไข่บนเส้นผม โดยหลั่งสารไคตินหุ้มปลายหนึ่งของไข่ ให้เกาะติดแน่นอยู่ มองเห็นได้ด้วยตาเปล่า เด็กเป็นเหาจะมีอาการคันมากและเกาจนหนังศีรษะถลอก อักเสบ และเป็นแผลติดเชื้อได้ ท้าให้เสียสมาธิในการเรียน บางคนไม่มีอาการมากเท่าใด แต่อาจสร้างความรำคาญได้ พบว่าเด็กผู้หญิงที่มีเหาที่หนังศีรษะ สามารถแพร่การติดเชื้อให้แก่เพื่อนๆ ภายในชั้นเรียนเดียวกัน ภายใน ๒๔ ชม. ไข่มีขนาดเล็ก ประมาณ 0.5-1 มม. ฟักเป็นตัวอ่อนของเหาภายในหนึ่งสัปดาห์ มองเห็นได้ด้วยตาเปล่า มักจะทำให้เกิดอาการคันที่บริเวณด้านหลังและด้านตรงศีรษะ ถ้าเกามากเป็นหนอง สะเก็ดแห้งกรังได้ บางครั้งเกิด การติดเชื้อแบคทีเรียแทรกซ้อนทำให้ต่อมน้ำเหลืองที่บริเวณท้ายทอยและข้างคอโตได้ สถานการณ์การเป็นเหาของนักเรียนในสังกัดเทศบาลตำบลปาเสมัส (3 แห่ง) ข้อมูล ณ วันที่ ๒๔ พฤษภาคม ๒๕๖6 เป็นไปตาม ตารางดังต่อไปนี้ ที่ โรงเรียน จำนวน นร. ทั้งหมด(คน) จำนวน นร. หญิงทั้งหมด (คน) จำนวนนร. ที่เป็นเหา(คน) ร้อยละของ (นร.หญิง) 1 โรงเรียนตือระมิตรภาพที่ 172327 93 52 55.91 2 โรงเรียนบ้านมือบา 159 65 34 52.30 3 โรงเรียนบ้านลูโบะซามา 166 63 36 57.14 รวม 652 221 122 55.20 จากสถานการณ์ดังกล่าว แสดงให้เห็นได้ว่าการเกิดเหาในเด็กนักเรียนปีการศึกษา 2566 คิดเป็นร้อยละ 55.20 ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปาเสมัส ได้เห็นความสำคัญของโรคเหา จึงได้จัดทำโครงการ นักเรียนวัยใส อนามัยดี๊ดี ไม่มีเหา ปีการศึกษา 2567 (เทอมที่ 1) โดยใช้กลวิธีกำจัดเหาโดยให้ครู นักเรียน มีส่วนร่วม ในการเฝ้าระวังควบคุมและ ป้องกันโรคได้อย่างประสิทธิภาพ สามารถลดอัตราการเป็นเหาในโรงเรียนได้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ความรู้แก่นักเรียนเกี่ยวกับโรคเหามีความตระหนัก การดูแลตัวเองและรักษาโรคเหา
- เพื่อรักษาและควบคุมการระบาดของโรคเหาในเด็กนักเรียน
- เพื่อลดจำนวนนักเรียนที่เป็นโรคเหาภายในโรงเรียน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมกำจัดเหาในเด็กนักเรียนสมุนไพรกำจัดเหา ในนักเรียนชั้น ป.1 - ป.6 ที่เป็นเหา จำนวน 122 คน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 122 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ และปฏิบัติการกำจัดเหาอย่างถูกต้องและต่อเนื่อง
๒. จำนวนนักเรียนที่เป็นโรคเหาภายในโรงเรียนลดลง
๓. ไม่เกิดเหาในนักเรียนรายใหม่
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. กิจกรรมกำจัดเหาในเด็กนักเรียนสมุนไพรกำจัดเหา ในนักเรียนชั้น ป.1 - ป.6 ที่เป็นเหา จำนวน 122 คน |
||
วันที่ 15 สิงหาคม 2567 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ๔.๑ ขั้นเตรียมการ ติดต่อประสานงาน จัดทำหนังสือเชิญและขอความร่วมมือในการประสานงานผู้เข้าร่วมโครงการ ประสานการจัดเตรียมสถานที่ทำกิจกรรม จัดเตรียมอุปกรณ์ในการทำกิจกรรม
๔.๒ ขั้นการดำเนินงาน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น๑. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ และปฏิบัติการกำจัดเหาอย่างถูกต้องและต่อเนื่อง
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ความรู้แก่นักเรียนเกี่ยวกับโรคเหามีความตระหนัก การดูแลตัวเองและรักษาโรคเหา ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อรักษาและควบคุมการระบาดของโรคเหาในเด็กนักเรียน ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
||
3 | เพื่อลดจำนวนนักเรียนที่เป็นโรคเหาภายในโรงเรียน ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 122 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 122 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ความรู้แก่นักเรียนเกี่ยวกับโรคเหามีความตระหนัก การดูแลตัวเองและรักษาโรคเหา (2) เพื่อรักษาและควบคุมการระบาดของโรคเหาในเด็กนักเรียน (3) เพื่อลดจำนวนนักเรียนที่เป็นโรคเหาภายในโรงเรียน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมกำจัดเหาในเด็กนักเรียนสมุนไพรกำจัดเหา ในนักเรียนชั้น ป.1 - ป.6 ที่เป็นเหา จำนวน 122 คน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการนักเรียนวัยใส อนามัยดี๊ดี ไม่มีเหา จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 67-L2535-01-22
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางมารีดา ฮัจญีหมัดสกุล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......