กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพด้วยการนวดแผนโบราณ ประจำปี 2567 ”
ตำบลปาเสมัส อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส



หัวหน้าโครงการ
นางสาวมารียานา ยะโกะ




ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพด้วยการนวดแผนโบราณ ประจำปี 2567

ที่อยู่ ตำบลปาเสมัส อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 67-L2535-02-25 เลขที่ข้อตกลง 24/67

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2567

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพด้วยการนวดแผนโบราณ ประจำปี 2567 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปาเสมัส อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลปาเสมัส ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพด้วยการนวดแผนโบราณ ประจำปี 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพด้วยการนวดแผนโบราณ ประจำปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปาเสมัส อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 67-L2535-02-25 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,330.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลปาเสมัส เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การดูแลสุขภาพแบบพื้นบ้านดั้งเดิมที่อยู่คู่กับประเทศไทยมาตั้งแต่ก่อนสมัยสุโขทัย ซึ่งมีความหลากหลายและเป็นเอกลักษณ์ที่แตกต่างกันไปตามแต่ละสังคม วัฒนธรรม กลุ่มชาติพันธ์และรูปแบบการรักษา มีทั้งการใช้ยาสมุนไพรการนวดการผดุงครรภ์ ตลอดจนรักษาทางจิตใจโดยใช้พฤติกรรมหรือคาถาต่างๆ ซึ่งสามารถตอบสนองความต้องการทางด้านการรักษาสุขภาพ และการเจ็บป่วยของประชาชนได้เป็นอย่างดี แต่จากการพัฒนาในทุกด้านที่ยึดการพัฒนาตามระบบทุนนิยม ทำให้ชุมชนมีความนิยมตามแนวทางของตะวันตกเป็นหลักโดยเฉพาะด้านการจัดการสุขภาพที่เน้นการพึ่งพิงจากภายนอกเป็นส่วนใหญ่ สิ่งเหล่านี้ส่งผลให้ภูมิปัญญาและองค์ความรู้ การดูแลสุขภาพเดิมที่มีอยู่ในชุมชนไม่ได้รับการพัฒนา และถูกทอดทิ้งจากคนรุ่นใหม่ขาดการสืบทอด และผู้รู้ส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอายุ ซึ่งนับวันจะมีจำนวนลดลง ทำให้ชุมชนรับประโยชน์จากภูมิปัญญาทางการแพทย์พื้นบ้านน้อยกว่าที่ควรจะเป็น ทั้งๆที่ความรู้เหล่านี้สามารถดูแลรักษาการเจ็บป่วยให้กับชาวบ้านได้ อีกทั้งองค์ความรู้ทางการแพทย์พื้นบ้านไทยทั้งที่เป็นหมอพื้นบ้าน ตำรา พันธุ์พืชที่ใช้ยาสมุนไพรวิธีการรักษาโรค ตลอดจนสังคมวัฒนธรรมประเพณี และวิถีชีวิต ฯลฯ มีความสำคัญและเป็นสิ่งล้ำค่าที่ควรจะเก็บรวบรวมอนุรักษ์ฟื้นฟูปัญญาทางการแพทย์พื้นบ้านไทย ที่อยู่คู่กับประเทศไทยเพื่อเป็นมรดกต่อลูกหลานในการสืบทอดองค์ความรู้และประคบสมุนไพรที่เป็นวิธีการของศาสตร์การแพทย์แผนไทยวิธีหนึ่งเป็นวิธีการบำบัดรักษาทางการแพทย์โบราณคนไทย นิยมใช้รักษามาแต่โบราณจนถึงปัจจุบัน โดยมักใช้รักษาควบคู่กับการนวดแผนไทยคือหลังจากนวดเสร็จแล้วประคบหน้าไปตามร่างกาย ผลของความร้อนที่ได้จากการประคบทำให้หลอดเลือดฝอยขยายตัวและตัวยาสมุนไพรร้อนร้อนซึมผ่านชั้นผิวหนัง ทำให้เนื้อเยื่อพังผืดยืดตัวออก ลดการติดขัดข้องของข้อต่อ ลดการแข็งเกร็งกล้ามเนื้อ ลดปวด และช่วยลดการบวมที่เกิดจากการอักเสบของกล้ามเนื้อเอ็น ข้อต่อและช่วยส่งเสริมให้ร่างกายมีการไหลเวียนของโลหิตที่ดีขึ้น ชมรม อสม.ตำบลปาเสมัสเห็นความสำคัญของการใช้สมุนไพรในชุมชน เพื่อใช้เพื่อนวดเพื่อสุขภาพซึ่งสมุนไพรสามารถหาได้ในชุมชน จึงได้จัดทำโครงการนวดประคบด้วยสมุนไพรเพื่อสุขภาพขึ้นเพื่อให้คนในชุมชนที่ปวดเมื่อยจากการทำงานสามารถนวดด้วยตนเองส่งเสริมให้มีสุขภาพที่ดีขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้เรื่องการนวดแผนโบราณในลักษณะการนวดเพื่อสุขภาพได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย
  2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้เรื่องการทำลูกประคบสมุนไพรเพื่อการรักษาและส่งเสริมภูมิปัญญาไทยและนำมาประยุกต์ใช้ในการดูแลสุขภาพตนเองและบุคคลใกล้ชิดด้านการเจ็บป่วยเล็กๆ น้อยๆ ในการส่งเสริมเพื่อป้องกันการเกิดโรค เช่น โรคเหน็บชา

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องการส่งเสริมสุขภาพด้วยการนวดแผนโบราณและสาธิตทำลูกประคบและนวดด้วยลูกประคบเพื่อสุขภาพ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้เรื่องการนวดแผนโบราณที่ถูกต้องและนำไปใช้ได้จริงในชีวิตประจำวัน
    1. ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้เรื่องการทำลูกประคบสมุนไพรเพื่อการรักษาและส่งเสริมภูมิปัญญาไทยและนำมาประยุกต์ใช้ในการดูแลสุขภาพตนเองและบุคคลใกล้ชิดด้านการเจ็บป่วยเล็กๆ น้อยๆ ในการส่งเสริมเพื่อป้องกันการเกิดโรค เช่น โรคเหน็บชา

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องการส่งเสริมสุขภาพด้วยการนวดแผนโบราณและสาธิตทำลูกประคบและนวดด้วยลูกประคบเพื่อสุขภาพ

วันที่ 9 กรกฎาคม 2567 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. เขียนโครงการเพื่อเสนอขออนุมัติ
    1. ติดต่อประสานงานวิทยากรและผู้ที่เกี่ยวข้องเพื่อเตรียมความพร้อมในการดำเนินการอบรมและกิจกรรม
                    ตามโครงการ
    2. จัดอบรมให้ความรู้เรื่องการส่งเสริมสุขภาพด้วยการนวดแผนโบราณ จัดอบรม 2 รุ่น รุ่นละ 100 คน
    3. จัดทำรายงานสรุปผลการดำเนินงานและประเมินผลการดำเนินงานตามวัตถุประสงค์และรวบรวมหลักฐาน           การใช้จ่ายงบประมาณ
    4. เสนอรายงานผลการดำเนินงานตามกิจกรรมของโครงการให้คณะกรรมการบริหารงานกองทุนฯ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องการส่งเสริมสุขภาพด้วยการนวดแผนโบราณและสาธิตทำลูกประคบและนวดด้วยลูกประคบเพื่อสุขภาพ
- ค่าสมนาคุณวิทยากร จำนวน 1 คน จำนวน 6 ชั่วโมงๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน  3,600  บาท - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้าร่วมอบรมและผู้ที่เกี่ยวข้อง จำนวน 65 คน จำนวน 2 มื้อๆละ 35
            บาท เป็นเงิน 4,550 บาท - ค่าอาหารกลางวันสำหรับผู้เข้าร่วมอบรมและผู้ที่เกี่ยวข้อง จำนวน 65 คน จำนวน 1 มื้อๆละ 80 บาท
            เป็นเงิน 5,200 บาท - ค่าป้ายไวนิลโครงการ ขนาด 1×2 เมตร จำนวน 1 แผ่นๆละ 500 บาท เป็นเงิน 500 บาท - ค่าวัสดุที่ใช้ในการอบรม
ค่าแฟ้มพลาสติกใส จำนวน 60 แฟ้มๆ ละ 10 บาท  เป็นเงิน  600 บาท ค่าปากกา จำนวน 60 ด้ามๆ ละ 8 บาท  เป็นเงิน  480 บาท ค่าสมุด จำนวน 60 เล่มๆ ละ 10 บาท  เป็นเงิน  600 บาท
- ค่าวัสดุอุปกรณ์ในการสาธิตทำลูกประคบ จำนวน 60 ชุดๆ ละ 80 บาท เป็นเงิน 4,800  บาท รายละเอียดดังนี้ ผ้าดิบสำหรับห่อลูกประคบ, เชือก, เหง้าไพล, ตะไตร้, ขมิ้นชัน, การบูร, มะกรูด, ใบส้มป่อย, พิมเสน, ใบมะขาม, เกลือแกง

รวมเป็นเงิน 20,330.- บาท (สองหมื่นสามร้อยสามสิบบาทถ้วน)

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้เรื่องการนวดแผนโบราณในลักษณะการนวดเพื่อสุขภาพได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้เรื่องการทำลูกประคบสมุนไพรเพื่อการรักษาและส่งเสริมภูมิปัญญาไทยและนำมาประยุกต์ใช้ในการดูแลสุขภาพตนเองและบุคคลใกล้ชิดด้านการเจ็บป่วยเล็กๆ น้อยๆ ในการส่งเสริมเพื่อป้องกันการเกิดโรค เช่น โรคเหน็บชา
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้เรื่องการนวดแผนโบราณในลักษณะการนวดเพื่อสุขภาพได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย (2) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้เรื่องการทำลูกประคบสมุนไพรเพื่อการรักษาและส่งเสริมภูมิปัญญาไทยและนำมาประยุกต์ใช้ในการดูแลสุขภาพตนเองและบุคคลใกล้ชิดด้านการเจ็บป่วยเล็กๆ น้อยๆ ในการส่งเสริมเพื่อป้องกันการเกิดโรค เช่น โรคเหน็บชา

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องการส่งเสริมสุขภาพด้วยการนวดแผนโบราณและสาธิตทำลูกประคบและนวดด้วยลูกประคบเพื่อสุขภาพ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสุขภาพด้วยการนวดแผนโบราณ ประจำปี 2567 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 67-L2535-02-25

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวมารียานา ยะโกะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด