กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู


“ โครงการเด็กปฐมวัย สุขภาพดี ที่ห้วยมะพร้าว ”

ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางกัณฐิรัตน์ เกษา

ชื่อโครงการ โครงการเด็กปฐมวัย สุขภาพดี ที่ห้วยมะพร้าว

ที่อยู่ ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 67-L5313-03-004 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 11 มิถุนายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเด็กปฐมวัย สุขภาพดี ที่ห้วยมะพร้าว จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเด็กปฐมวัย สุขภาพดี ที่ห้วยมะพร้าว



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเด็กปฐมวัย สุขภาพดี ที่ห้วยมะพร้าว " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 67-L5313-03-004 ระยะเวลาการดำเนินงาน 11 มิถุนายน 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 28,648.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การพัฒนาประเทศชาติให้เจริญก้าวหน้าต้องเริ่มต้นจากการพัฒนาคน ซึ่งคนที่มีประสิทธิภาพต้องมีการมีการวางรากฐานที่ดีตั้งแต่อยู่ในครรภ์ และได้รับการอบรมเลี้ยงดูอย่างเหมาะสม มีการส่งเสริมพัฒนาการเด็กให้เหมาะสมตามวัย ซึ่งการส่งเสริมพัฒนาการเด็กให้ได้ผลดีนั้น เป็นสิ่งที่จะต้องดำเนินการควบคู่กันไปกับการศึกษา การพัฒนาเด็กและเยาวชน จึงอยู่ที่กระบวนการจัดการศึกษาและการสร้างสุขภาพ ภายใต้ความร่วมมือจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง นับตั้งแต่ระดับครอบครัว โรงเรียน ชุมชนและองค์กรในท้องถิ่น ซึ่งจะต้องมีการประสานความร่วมมือ ประสานประโยชน์ที่เอื้อต่อการพัฒนาเด็กให้มีสุขภาพกาย สุขภาพจิตที่ดี สามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมอย่างมีความสุขและปลอดภัย ซึ่งโรงเรียนก็เป็นสถาบันหนึ่งของสังคม มีหน้าที่ให้ความรู้และพัฒนาคนให้มีสุขภาพและศักยภาพที่ดี สามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข นอกจากการให้การศึกษาแล้ว การส่งเสริมสุขภาพอนามัยในโรงเรียน  เป็นปัจจัยสำคัญในการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนที่จะเจริญเติบโตเป็นผู้ใหญ่ในวันข้างหน้า การส่งเสริมสุขภาพและอนามัยแก่นักเรียน การให้บริการด้านสุขภาพอนามัย การให้ความรู้ด้านสุขภาพ ช่วยให้สามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข
    โรงเรียนบ้านห้วยมะพร้าว เปิดสอนตั้งแต่ระดับปฐมวัย ถึง ระดับประถมศึกษาปีที่ 6 ตั้งอยู่ หมู่ที่ 11ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล มีนักเรียนจำนวนทั้งสิ้น 157 คน เป็นนักเรียนผู้ชาย 75 คน นักเรียนผู้หญิง 82 คน มีผู้บริหาร คณะครูและบุคลากรทางการศึกษาทั้งสิ้นจำนวน 16 คน แบ่งเป็นข้าราชการครู 9 คน พนักงานราชการ 2 คน ครูบุคลากรวิทย์ 1 คน ธุรการ 1 คน พี่เลี้ยงเด็กพิการ 1 คน นักการภารโรง 1 คน และปัจจุบันมีนายเอกวิทย์ สาโส๊ะ ดำรงตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านห้วยมะพร้าว
    จากข้อมูลด้านสุขภาพและอนามัยโรงเรียนบ้านห้วยมะพร้าว ประจำปีการศึกษา 2566 พบปัญหา 2 ด้าน คือ 1. ปัญหาด้านสุขภาพฟัน ของนักเรียนระดับปฐมวัยโรงเรียนบ้านห้วยมะพร้าว ซึ่งมีทั้งหมด 41 คน มีปัญหาทางด้านฟันน้ำนมผุ ระดับชั้นอนุบาล 2 คิดเป็นร้อยละ 92.56 และนักเรียนระดับชั้นอนุบาล 3 คิดเป็นร้อยละ 90.48 (ข้อมูลจากโรงพยาบาลละงู) ซึ่งสาเหตุหลักมาจากการทำความสะอาดช่องปากไม่ถูกวิธี และ 2. ปัญหาด้านน้ำหนักเกินเกณฑ์ ซึ่งข้อมูลรายงานการเจริญเติบโต พบว่า นักเรียนระดับชั้นปฐมวัย โรงเรียนบ้านห้วยมะพร้าว มีภาวะเริ่มอ้วน + อ้วน คิดเป็นร้อยละ 22.73  ผอม คิดเป็นร้อยละ 4.55 เตี้ย คิดเป็นร้อย 9.09 สูงดีและสมส่วน คิดเป็นร้อยละ 63.64 (ข้อมูลการบันทึกผล การเจริญเติบโต ปี 2566 จาก โปรแกรม Kiddiary.in/th ) ซึ่งจากข้อมูลพบว่านักเรียนส่วนใหญ่มาจากการบริโภคอาหารที่ไม่มีประโยชน์ และการดูแลเอาใจใส่ในเรื่องของการจัดการด้านโภชนาการ ส่งผลให้เกิดโรคภัยไข้เจ็บต่างๆตามมา และส่งผลกระทบต่อการเรียนและทำกิจกรรมในแต่ละวัน     จากข้อมูลดังกล่าว โรงเรียนบ้านห้วยมะพร้าว จึงตระหนักและให้ความสำคัญของการดูแลสุขภาพของนักเรียนระดับปฐมวัย จึงได้จัดทำโครงการเด็กปฐมวัย สุขภาพดี ที่ห้วยมะพร้าวขึ้น เพื่อให้ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัยได้มีความรู้ในเรื่องการเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยเพื่อให้มีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง มีภาวะโภชนาการที่ดี มีพัฒนาการเจริญเติบโตเหมาะสมกับวัยตามเกณฑ์กรมอนามัย และเพื่อให้เด็กปฐมวัยมีสุขภาพดี เข้าใจและเห็นความสำคัญของการดูแลและรักษาความสะอาดของช่องปาก สามารถแปรงฟันได้อย่างถูกต้อง ลดปัญหาฟันผุ เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดปัญหาที่จะส่งผลกระทบกับร่างกายและพัฒนาการในการเรียนรู้ พร้อมที่จะเรียนรู้ ก่อให้เกิดพัฒนาการที่สมวัยจะช่วยส่งเสริมให้เด็กเติบโตอย่างมีคุณภาพ สามารถทำหน้าที่ต่าง ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพและต่อยอดความรู้ได้ด้วยตัวเอง สามารถเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่ดีในอนาคตเพื่อพัฒนาประเทศชาติอีกต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องโภชนาการการจัดการอาหารที่เหมาะสมกับวัยเด็กปฐมวัย และการดูแลสุขภาพช่องปากและฟันได้ถูกต้อง
  2. เพื่อให้นักเรียนระดับปฐมวัยมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการเลือกรับประทานอาหารที่เหมาะสมถูกหลักโภชนาการ
  3. เพื่อให้นักเรียนระดับปฐมวัยมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประเมินภาวะสุขภาพเด็กเบื้องต้น ก่อนและหลังกิจกรรม
  2. อบรมให้ความรู้ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย
  3. อบรมให้ความรู้นักเรียนปฐมวัย
  4. ติดตามและประเมินผลด้านภาวะโภชนาการและสุขภาพช่องปากและฟันในนักเรียนระดับปฐมวัย เดือนละ 1 ครั้ง จนเสร็จสิ้นโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 70
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1 ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัยมีความเข้าใจ เรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากและฟันของนักเรียนระดับปฐมวัย
2 ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัยมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องการจัดการด้านโภชนาการที่ดีให้กับนักเรียนระดับปฐมวัย 3. นักเรียนระดับปฐมวัย มีภาวะโภชนาการที่ดีขึ้น 4. นักเรียนระดับปฐมวัยดูแลรักษาสุขภาพฟันของตัวเองได้ถูกวิธี


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องโภชนาการการจัดการอาหารที่เหมาะสมกับวัยเด็กปฐมวัย และการดูแลสุขภาพช่องปากและฟันได้ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการจัดอาหารที่ดี เหมาะสม ถูกต้องตามหลักโภชนาการ และการดูแลสุขภาพช่องปากและฟันของเด็กปฐมวัยได้ดี ร้อยละ 90
1.00

 

2 เพื่อให้นักเรียนระดับปฐมวัยมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการเลือกรับประทานอาหารที่เหมาะสมถูกหลักโภชนาการ
ตัวชี้วัด : นักเรียนปฐมวัยมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องการเลือกรับประทานอาหารที่เหมาะสมถูกหลักโภชนาการ และนักเรียนปฐมวัยที่มีภาวะทุพโภชนาการลดลงร้อยละ 70
1.00

 

3 เพื่อให้นักเรียนระดับปฐมวัยมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน
ตัวชี้วัด : นักเรียนปฐมวัย มีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน ปฏิบัติตนในการดูแลสุขภาพช่องปากและฟันได้ และมีฟันน้ำนมผุ ลดลง ร้อยละ 80
1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 70
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 70
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องโภชนาการการจัดการอาหารที่เหมาะสมกับวัยเด็กปฐมวัย และการดูแลสุขภาพช่องปากและฟันได้ถูกต้อง (2) เพื่อให้นักเรียนระดับปฐมวัยมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการเลือกรับประทานอาหารที่เหมาะสมถูกหลักโภชนาการ (3) เพื่อให้นักเรียนระดับปฐมวัยมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประเมินภาวะสุขภาพเด็กเบื้องต้น ก่อนและหลังกิจกรรม (2) อบรมให้ความรู้ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย (3) อบรมให้ความรู้นักเรียนปฐมวัย (4) ติดตามและประเมินผลด้านภาวะโภชนาการและสุขภาพช่องปากและฟันในนักเรียนระดับปฐมวัย เดือนละ 1 ครั้ง จนเสร็จสิ้นโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเด็กปฐมวัย สุขภาพดี ที่ห้วยมะพร้าว จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 67-L5313-03-004

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางกัณฐิรัตน์ เกษา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด