กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเบตง


“ โครงการฝึกอบรมอาหารปลอดภัยใส่ใจผู้บริโภค ”

ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นายสกุล เล็งลัคน์กุล

ชื่อโครงการ โครงการฝึกอบรมอาหารปลอดภัยใส่ใจผู้บริโภค

ที่อยู่ ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 2567-L7161-1-6 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 10 มิถุนายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการฝึกอบรมอาหารปลอดภัยใส่ใจผู้บริโภค จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเบตง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการฝึกอบรมอาหารปลอดภัยใส่ใจผู้บริโภค



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการฝึกอบรมอาหารปลอดภัยใส่ใจผู้บริโภค " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 2567-L7161-1-6 ระยะเวลาการดำเนินงาน 10 มิถุนายน 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 106,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเบตง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากแนวคิดหลักของการพัฒนาสุขภาพ ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ได้มุ่งเน้นการสร้างสุขภาพมากกว่าการซ่อมสุขภาพ ดังนั้นจึงมีการกำหนดยุทธศาสตร์ในการดำเนินงานอย่างเป็นระบบ โดยมุ่งเน้นปัจจัยพื้นฐาน 4 ประการ ได้แก่ ด้านสุขภาพจิต การออกกำลังกาย การอนามัยสิ่งแวดล้อมและอาหารสะอาดปลอดภัย ซึ่งจะนำไปสู่สุขภาวะที่ดีด้วย ความเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วทางด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ก่อให้เกิดความหลากหลายทางด้านการผลิต มีการนำเข้าผลิตภัณฑ์สุขภาพ โดยเฉพาะอาหารและผลิตภัณฑ์เข้าสู่ประเทศไทยจำนวนมาก ก่อให้เกิดปัญหาและความวิตกกังวลของผู้บริโภคด้านคุณภาพและความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์สุขภาพเพิ่มมากขึ้น ปัจจุบันได้มีการส่งเสริม ให้ร้านอาหารมีการปฏิบัติตามหลักสุขาภิบาลเพื่อให้ได้การรับรองมาตรฐาน อาหารสะอาด รสชาติอร่อย (Clean food Good taste) ซึ่งเป็นการประกันความปลอดภัยทางด้านอาหารปรุงสำเร็จจากข้อมูลการสถานการณ์โรคอุจจาระร่วงและอาหารเป็นพิษในประเทศไทย กรมควบคุมโรค ปี พ.ศ. 2564และ 2565 พบว่ามีอุบัติการณ์ป่วยด้วยโรคดังกล่าว 89.82 และ 108.13 ต่อประชากรแสนคน ตามลำดับ เสียชีวิต 1-2 รายต่อปี กลุ่มอายุที่พบมากที่สุดคือ 15-24 ปี ในทั้ง 2 ปี ซึ่งเป็นกลุ่มวัยเรียนและวัยเริ่มทำงานและในทุก ๆ ปี อุบัติการณ์ในช่วงต้นปี (มกราคม-กุมภาพันธ์) มักสูงกว่าช่วงอื่น ๆ ของปี ซึ่งสะท้อนให้เห็นว่าประชาชนมีภาวะ ความเสี่ยงต่อ การบริโภคอาหารที่ไม่ถูกหลักอนามัย หรือไม่สะอาด มีการปนเปื้อนของเชื้อโรค อย่างไรก็ตามความปลอดภัยที่เกี่ยวข้องกับอาหารไม่ได้จำกัดแค่การเตรียม ปรุง ประกอบและจำหน่ายอาหารเท่านั้น เทศบาลเมืองเบตง โดย กองสาธารณสุขและจากสถานการณ์ดังกล่าวทำให้ดำเนินการเฝ้าระวังทางด้านสุขาภิบาลอาหาร ตามหลักอาหารปลอดภัย (Food Safety) เพื่อความปลอดภัยและความมั่งคงทางด้านอาหาร สร้างความมั่นใจแก่ผู้บริโภค ในสถานประกอบการ ได้แก่ สถานที่จำหน่ายอาหารและสะสมอาหาร ตลาด แผงลอยจำหน่ายอาหาร โดยการสุ่มเก็บตัวอย่างอาหาร ส่งตรวจวิเคราะห์สารปนเปื้อน จำนวน 5 ชนิด ได้แก่ สารบอแรกซ์ สารกันรา ฟอร์มาลีน ยาฆ่าแมลง สารฟอกขาว ซึ่งจะดำเนินการเก็บตัวอย่างอาหารตลาดสด เนื่องจากเป็นแหล่งกระจายวัตถุดิบที่ใช้สถานประกอบปีละ 2 ครั้ง ล่าสุดประจำปี 2566 พบว่าสารปนเปื้อนในอาหารบางชนิด ได้แก่ ยาฆ่าแมลง ซึ่งพบในกระเทียม ฟอร์มาลีนในปลาหมึก , กุ้ง ต้องคำนึงถึงความสะอาดและปลอดภัยของวัตถุดิบในการประกอบอาหาร รวมถึงแหล่งที่มาด้วย ดังนั้นการให้ความสำคัญกับผู้ประกอบการที่เกี่ยวข้องกับการจำหน่ายวัตถุดิบในการประกอบอาหาร ไม่ว่าจะเป็นสถานที่สะสมอาหาร ตลาดสด จึงมีความสำคัญอย่างยิ่งเพราะเป็นอีกส่วนหนึ่ง ที่จะส่งผลโดยตรงต่อสุขภาพอนามัยของประชาชน ความปลอดภัย และยังเป็นการคุ้มครองผู้บริโภค
เทศบาลเมืองเบตงในฐานะองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ที่มีความใกล้ชิดกับประชาชน ได้ตระหนักและให้ความสำคัญกับการคุ้มครองผู้บริโภค คำนึงถึงความปลอดภัย และความมั่นคงด้านอาหารมาโดยตลอด ประกอบกับเป็นอำนาจหน้าที่ตาม มาตรา 50 (2) (3) พระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติเทศบาล (ฉบับที่ 14) พ.ศ.2562 และมาตรา 16 (18) (24) พระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2542 และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2549 จึงได้มีการผลักดันในเรื่องความปลอดภัยและและความมั่นคงด้านอาหาร เพื่อสร้างความมั่นใจและสร้างภาพลักษณ์ที่ดีในฐานะเมืองท่องเที่ยวที่สำคัญแห่งหนึ่งของประเทศไทยเพื่อให้มีการดำเนินการอย่างต่อเนื่องจากปีที่ผ่านมา เทศบาลเมืองเบตงจึงได้มีการจัดโครงการอาหารปลอดภัย ใส่ใจผู้บริโภคขึ้น เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจให้กับ ประชาชนในฐานะผู้บริโภคให้มีความตระหนักถึงความปลอดภัย และความมั่นคงด้านอาหาร อนึ่งการดำเนินงานดังกล่าวจะส่งผลให้ เทศบาลเมืองเบตง เป็นเมืองที่มีความปลอดภัยทางด้านอาหารอย่างยั่งยืนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. (เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  2. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ในเรื่องอาหารปลอดภัยอย่างถูกต้อง
  3. เพื่อปรับเปลี่ยนทัศนคติในการตัดสินใจเลือกสินค้าอุปโภค บริโภค ที่ปลอดภัยต่อสุขภาพของตนเองและบุคคลรอบข้างได้อย่างถูกต้อง
  4. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ปฏิบัติในชีวิตประจำวันอย่างถูกต้อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. โครงการฝึกอบรมอาหารปลอดภัยใส่ใจผู้บริโภค

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 140
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้เข้ารับการอบรม มีความรู้ ในเรื่องอาหารปลอดภัยอย่างถูกต้อง
  2. ผู้เข้ารับการอบรม มีทัศนคติในการตัดสินใจ เลือกสินค้าอุปโภค บริโภค ที่ปลอดภัยต่อสุขภาพของตนเองและบุคคลรอบข้างได้อย่างถูกต้อง
  3. ผู้เข้ารับการอบรมสามารถนำความรู้ ที่ได้รับ ไปใช้ปฏิบัติในชีวิตประจำวันได้อย่างถูกต้อง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 (เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ในเรื่องอาหารปลอดภัยอย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ในเรื่องอาหารปลอดภัยอย่างถูกต้อง ร้อยละ 80%
0.00

 

3 เพื่อปรับเปลี่ยนทัศนคติในการตัดสินใจเลือกสินค้าอุปโภค บริโภค ที่ปลอดภัยต่อสุขภาพของตนเองและบุคคลรอบข้างได้อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ปรับเปลี่ยนทัศนคติในการตัดสินใจเลือกสินค้าอุปโภค บริโภค ที่ปลอดภัยต่อสุขภาพของตนเองและบุคคลรอบข้าง ร้อยละ 80%
0.00

 

4 เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ปฏิบัติในชีวิตประจำวันอย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ให้ผู้เข้ารับการอบรมนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ปฏิบัติในชีวิตประจำวันอย่างถูกต้อง ร้อยละ 80%
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 140
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 140
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) (เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค) (2) เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ในเรื่องอาหารปลอดภัยอย่างถูกต้อง (3) เพื่อปรับเปลี่ยนทัศนคติในการตัดสินใจเลือกสินค้าอุปโภค บริโภค ที่ปลอดภัยต่อสุขภาพของตนเองและบุคคลรอบข้างได้อย่างถูกต้อง (4) เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ปฏิบัติในชีวิตประจำวันอย่างถูกต้อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการฝึกอบรมอาหารปลอดภัยใส่ใจผู้บริโภค

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการฝึกอบรมอาหารปลอดภัยใส่ใจผู้บริโภค จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 2567-L7161-1-6

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายสกุล เล็งลัคน์กุล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด