กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลแพรกศรีราชา


“ มหัศจรรย์ 1,000 วัน PLUS สู่ 2,500 วัน ”



หัวหน้าโครงการ

ชื่อโครงการ มหัศจรรย์ 1,000 วัน PLUS สู่ 2,500 วัน

ที่อยู่ จังหวัด

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2566 ถึง 31 สิงหาคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"มหัศจรรย์ 1,000 วัน PLUS สู่ 2,500 วัน จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลแพรกศรีราชา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
มหัศจรรย์ 1,000 วัน PLUS สู่ 2,500 วัน



บทคัดย่อ

โครงการ " มหัศจรรย์ 1,000 วัน PLUS สู่ 2,500 วัน " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2566 - 31 สิงหาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 38,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลแพรกศรีราชา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันการส่งเสริมสุขภาพอนามัยแม่และเด็กต้องมีการดูแลแบบเป็นองค์รวมตั้งแต่ตั้งครรภ์คลอดหลังคลอดและเด็กแรกเกิดจนถึงอายุ 5 ปี โดยสิ่งที่สำคัญคือการจัดบริการในสถานบริการสาธารณสุขทุกระดับให้มีประสิทธิภาพเป็นไปตามมาตรฐานเข้าถึงง่ายเพื่อส่งเสริมการเข้าถึงบริการของหญิงตั้งครรภ์และครอบครัวในการดูแลอย่างต่อเนื่องและเฝ้าระวังความผิดปกติที่อาจเกิดขึ้นระหว่างการตั้งครรภ์และหลังคลอดเตรียมความพร้อมเพื่อการส่งต่อไปยังหน่วยบริการที่มี ศักยภาพเพื่อให้ลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัยเด็กเติบโตพัฒนาการสมไวตามแนวทางการดำเนินงานมหัศจรรย์ 1,000 วัน Plus สู่ 2,500 วัน มุ่งเน้นการส่งเสริมสุขภาพของสตรีและเด็กปฐมวัย ส่งเสริมให้เกิดกิจกรรมสำคัญกิน กอด เล่น เล่า นอน เฝ้าดูฟัน การพัฒนาคุณภาพงานบริการสาธารณสุข ทั้งคลินิกฝากครรภ์ (ANC) และคลินิกเด็กสุขภาพดี (WCC) เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ หญิงให้นมบุตร และเด็กแรกเกิดจนถึงอายุ 5ปี ทุกคนได้รับบริการครบถ้วนและดูแลอย่างทั่วถึง จากการประเมินผลของการมาฝากครรภ์ของหญิงตั้งครรภ์และเด็กแรกเกิดจนถึงอายุ 5 ปี ในปี 2566 ที่ผ่านมา พบว่า ยังมีหญิงตั้งครรภ์มาฝากครรภ์ล่าช้ากว่า 12 สัปดาห์ หหญิงตั้งครรภ์บางคนยังไม่เห็นความสำคัญในการมาฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ และหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีด นอกจากนี้ยังพบปัญหาเกี่ยวกับการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ที่เริ่มลดลง เด็กมีปัญหาภาวะทุพโภชนาการ และเด็กพัฒนาการล่าช้ามากขึ้น เนื่องจากผู้ปกครองไม่ตระหนักถึงปัญหาสุขภาพเด็กและขาดทักษะส่งเสริมพัฒนาการเด็ก ซึ่งสิ่งเหล่านี้มีความสำคัญและความจำเป็นในการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์และเด็ก โรงพยาบาลสรรคบุรี ได้ตระหนักถึงความสำคัญของปัญหา จึงได้จัดทำโครงการมหัศจรรย์ 1,000 วัน Plus สู่ 2,500 วันเพื่อการส่งเสริมการดูแลหญิงตั้งครรภ์ให้ได้รับการดูแลสุขภาพอย่างเหมาะสมพร้อมรับสวัสดิการการฝากครรภ์ที่ควรได้รับ ทั้งนี้ยังดูแลสุขภาพเด็กให้ได้รับการดูแลสุขภาพ การได้รับวัคซีน การเฝ้าระวังและส่งเสริมการเจริญเติบโต การคัดกรองพัฒนาการและส่งเสริมพัฒนาการ รวมไปถึงส่งเสริมให้ชุมชนตระหนักถึงความสำคัญของหญิงตั้งครรภ์และเด็ก มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาและพัฒนางานด้านสาธารณสุข

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ และได้รับการดูแลตามเกณฑ์
  2. เพื่องส่งเสริมโภชนาการในหญิงตั้งครรภ์
  3. เพื่องส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่แรกเกิดถึง 6 เดือน
  4. เพื่องส่งเสริมโภชนาการเด็ก 0-5 ปี ที่มีภาวะทุพโภชนาการ
  5. เพื่อให้เด็ก 0-5 ปี ได้รับการประเมินพัฒนาการ
  6. เพื่อให้เด็ก 0-5 ปีมีพัฒนาการสมวัยและที่มีพัฒนาล่าช้า ได้รับการส่งต่อ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมหญิงตั้งครรภ์
  2. กิจกรรม เด็ก 0-5 ปี

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 10
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 10
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เด็กอายุ 0-5 ปี ได้รับการประเมินพัฒนาการเด็กและส่งเสริมพัฒนาการ 2.เด็กอายุ 0-5ปี ได้รับส่งเสริมภาวะโภชนาการในเด็กสอนผู้ปกครองเรื่องโภชนาการการอ่านกราฟภาวะโภชนาการสนับสนุนอาหารเสริมนมไข่ในเด็กผอมและทำทะเบียนรายชื่อรับอาหารเสริม (นม,ไข่ ) 3.หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ และได้รับการดูแลตามเกณฑ์ 4.หญิงตั้งครรภ์รายใหม่และสามีได้รับความรู้ เรื่องการเลี้ยงดูเด็ก 0-5 ปี และการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ แรกเกิดถึง 6 เดือน 5.หญิงตั้งครรภ์ ได้รับการติดตามการฝากครรภ์ ติดตามเยี่ยมหลังคลอด และส่งเสริมพัฒนาการเด็กตามแนวทาง DSPM 6.เด็ก 0-5 ปีมีพัฒนาการสมวัยและที่มีพัฒนาล่าช้า ได้รับการส่งต่อ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ และได้รับการดูแลตามเกณฑ์
ตัวชี้วัด : ร้อยละหญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ และได้รับการดูแลตามเกณฑ์
80.00

 

2 เพื่องส่งเสริมโภชนาการในหญิงตั้งครรภ์
ตัวชี้วัด : ร้อยละส่งเสริมโภชนาการในหญิงตั้งครรภ์
80.00

 

3 เพื่องส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่แรกเกิดถึง 6 เดือน
ตัวชี้วัด : ร้อยละการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่แรกเกิดถึง 6 เดือน
80.00

 

4 เพื่องส่งเสริมโภชนาการเด็ก 0-5 ปี ที่มีภาวะทุพโภชนาการ
ตัวชี้วัด : ร้อยละโภชนาการเด็ก 0-5 ปี ที่มีภาวะทุพโภชนาการ
70.00

 

5 เพื่อให้เด็ก 0-5 ปี ได้รับการประเมินพัฒนาการ
ตัวชี้วัด : ร้อยละเด็ก 0-5 ปี ได้รับการประเมินพัฒนาการ
80.00

 

6 เพื่อให้เด็ก 0-5 ปีมีพัฒนาการสมวัยและที่มีพัฒนาล่าช้า ได้รับการส่งต่อ
ตัวชี้วัด : ร้อยละเด็ก 0-5 ปีมีพัฒนาการสมวัยและที่มีพัฒนาล่าช้า ได้รับการส่งต่อ
70.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 20
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 10
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 10
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 0

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ และได้รับการดูแลตามเกณฑ์ (2) เพื่องส่งเสริมโภชนาการในหญิงตั้งครรภ์ (3) เพื่องส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่แรกเกิดถึง 6 เดือน (4) เพื่องส่งเสริมโภชนาการเด็ก 0-5 ปี ที่มีภาวะทุพโภชนาการ (5) เพื่อให้เด็ก 0-5 ปี ได้รับการประเมินพัฒนาการ (6) เพื่อให้เด็ก 0-5 ปีมีพัฒนาการสมวัยและที่มีพัฒนาล่าช้า ได้รับการส่งต่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมหญิงตั้งครรภ์ (2) กิจกรรม เด็ก 0-5 ปี

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


มหัศจรรย์ 1,000 วัน PLUS สู่ 2,500 วัน จังหวัด

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด