กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สาวอ


“ โครงการอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านร่วมใจนำพาประชาชนใส่ใจจัดการสุขภาพและป้องกันโรค ปีงบประมาณ 2567 ”

ตำบลสาวอ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นายมะนาวี สาอุ นายมารูดีน หะยีตาเละ นางแมะย๊ะ เซะ

ชื่อโครงการ โครงการอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านร่วมใจนำพาประชาชนใส่ใจจัดการสุขภาพและป้องกันโรค ปีงบประมาณ 2567

ที่อยู่ ตำบลสาวอ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 67-L2516-2-04 เลขที่ข้อตกลง 6/67

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านร่วมใจนำพาประชาชนใส่ใจจัดการสุขภาพและป้องกันโรค ปีงบประมาณ 2567 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสาวอ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สาวอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านร่วมใจนำพาประชาชนใส่ใจจัดการสุขภาพและป้องกันโรค ปีงบประมาณ 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านร่วมใจนำพาประชาชนใส่ใจจัดการสุขภาพและป้องกันโรค ปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสาวอ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 67-L2516-2-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 27,030.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สาวอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันสุขภาพเป็นเรื่องสำคัญที่เราทุกคนต้องดูแลไม่ว่าสุขภาพกายหรือสุขภาพจิต ตลอดระยะเวลาที่กระทรวงสาธารณสุขมีนโยบาบการดำเนินงานสาธารณสุขมีการดำเนินงานสาธารณสุขมูลฐาน ซึ่งเป็นกลวิธีหนึ่งในการพัฒนางานสาธารณสุขชุมชนเพื่อให้ประชาชนมีบทบาทในการดูแล สุขภาพของตนเอง ครอบครัว และชุมชน สภาพแวดล้อมและสังคมโดยรวมได้อย่างยั่งยืนด้วยความตั้งใจ เต็มใจ มีจิตสำนึกที่ดีและมีศรัทธา ซึ่งบริบทของการเกิดโรค ได้เปลี่ยนแปลงไปทำให้เกิดโรคอุบัติใหม่ๆมากขึ้น จึงมีการใช้เทคโนโลยีใหม่ๆในการักษาพยาบาล ตลอดจนด้านการสื่อสารต่างๆเพิ่มขึ้นทำให้ต้องมีการพัฒนาเพื่อเพิ่มความรู้และทักษะในการปฏิบัติงานของบุคลากรสาธารณสุขโดยเฉพาะอาสาสมัครสาธารณสุขที่ต้องทำหน้าที่ใกล้ชิดกับประชาชนมากที่สุด เพื่อสนองนโยบาย สามหมอ ของกระทรวงสาธารณสุขในยุคปัจจุบัน
การดำเนินงานสาธารณสุขโดยอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านที่ผ่านการอบรมมาหลายรุ่น ปฏิบัติงานอยู่ในชุมชนและมีการเปลี่ยนตัวบุคคล เช่น อาสาสมัครสาธารณสุข ลาออก หรือเสียชีวิต จึงทำให้เกิดปัญหาในการปฏิบัติงานเนื่องจากขาดความรู้และทักษะใหม่ๆที่ต้องใช้ เช่นการใช้แอพลิเคชั่นสมาร์ท อสม. การคีย์การคัดกรองผู้สูงอายุ การดูแลสุขภาพตามกลุ่มวัยในการเยี่ยมบ้าน การสำรวจข้อมูลและส่งรายงานประจำเดือน การปฐมพยาบาลเบื้องต้น เหล่านี้เป็นต้น ในการนี้ทางชมรม อาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านมือและห์ จึงเห็นความสำคัญในการฟื้นฟูองค์ความรู้แก่อาสาสมัครสาธารณสุข จึงได้จัดทำโครงการอสม.ร่วมใจนำพาประชาชนใส่ใจจัดการสุขภาพ และป้องกันโรค จึงเป็นวิธีที่จะสามารถแก้ไขปัญหาเหล่านี้ได้ โดยการให้อาสาสมัครสาธารณสุขอาสาสมัครสาธารณสุขโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านมือและห์ ทุกคนเข้ารับการอบรมเพื่อเพิ่มพูนความรู้และทักษะด้านต่างๆตลอดจนมีการฝึกปฏิบัติงานจริงที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านมือและห์ หลังการอบรมเสร็จสิ้นซึ่งคาดว่าจะทำให้การปฏิบัติงานในชุมชนของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น และชุมชนพัฒนาเป็นองค์กรสร้างสุขภาพ ลดเสี่ยง ลดโรคได้อย่างยั่งยืนต่อไป

กระทรวงสาธารณสุขได้มีนโยบายการพัฒนาด้านสุขภาพเพื่อให้ประชาชนทุกคนมีสุขภาพดี อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการดำรงชีวิตที่ดี เกิดความทั่วถึง การเท่าเทียมของประชาชนทุกคนโดยให้ประชาชนได้รับรู้ สถานะของตนเองและเข้าถึงการคัดกรองโรคภัยต่างๆ และได้กำหนดให้ดำเนินการพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัยให้มีความครอบคลุมในมิติทางด้านสุขภาพ ทั้ง 4 มิติ คือ มิติด้านการป้องกันโรค การส่งเสริมสุขภาพ การรักษาพยาบาล และการฟื้นฟูสภาพ เน้นให้เกิดการสร้างสุขภาพมากกว่าการซ่อมแซมสุขภาพซึ่งเกี่ยวข้องกับ ความรู้ ความเข้าใจ ความตระหนักด้านสุขภาพ โดยมี อาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) ผู้เป็นพลังชุมชนสำคัญในการเป็นผู้นำ เป็นต้นแบบในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ โดยมีบทบาทสำคัญในการช่วยเหลืองานสาธารณสุขในชุมชน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 28
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    6.1 อาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) ทุกคนได้รับความรู้เรื่องการปฐมพยาบาลเบื้องต้น และสามารถฝึกปฏิบัติงานได้จริง สามารถช่วยเหลือได้ถูกต้องและทันเวลา
    6.2 อาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) ทุกคนได้รับความรู้เรื่องการใช้ยาสามัญประจำบ้าน ความรู้การตรวจสอบงานคุ้มครองผู้บริโภค ในชุมชน สามารถสอดส่องร้านชำปลอดภัย
    6.3 อาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) ทุกคนได้รับความรู้เรื่องโรคภัยอุบัติใหม่ สามารถช่วยเหลือพยาบาลเบื้องต้นในชุมชนได้ มีองค์กรสร้างสุขภาพ ลดเสี่ยง การเจ็บป่วยหนัก และแทรกซ้อนได้ 6.4 อาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) ทุกคนได้รับความรู้ด้านเทคโนโลยี สามารถคัดกรโรค การคัดกรองตามกลุ่มวัยต่างๆ สามารถส่งรายงานได้ครลถ้วนและทันเวลา


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 28
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 28
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านร่วมใจนำพาประชาชนใส่ใจจัดการสุขภาพและป้องกันโรค ปีงบประมาณ 2567 จังหวัด นราธิวาส

    รหัสโครงการ 67-L2516-2-04

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายมะนาวี สาอุ นายมารูดีน หะยีตาเละ นางแมะย๊ะ เซะ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด