จิตแจ่มใส ใจเบิกบาน ภาคีคนทำงานเป็นสุข
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ จิตแจ่มใส ใจเบิกบาน ภาคีคนทำงานเป็นสุข ”
ตำบลควนโพธิ์ อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นายซาการิยา โต๊ะหมาด
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ควนโพธิ์
ธันวาคม 2567
ชื่อโครงการ จิตแจ่มใส ใจเบิกบาน ภาคีคนทำงานเป็นสุข
ที่อยู่ ตำบลควนโพธิ์ อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 67-L5302-2-17 เลขที่ข้อตกลง 16/2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กันยายน 2567 ถึง 31 ธันวาคม 2567
กิตติกรรมประกาศ
"จิตแจ่มใส ใจเบิกบาน ภาคีคนทำงานเป็นสุข จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลควนโพธิ์ อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ควนโพธิ์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
จิตแจ่มใส ใจเบิกบาน ภาคีคนทำงานเป็นสุข
บทคัดย่อ
โครงการ " จิตแจ่มใส ใจเบิกบาน ภาคีคนทำงานเป็นสุข " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลควนโพธิ์ อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 67-L5302-2-17 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กันยายน 2567 - 31 ธันวาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 107,660.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ควนโพธิ์ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
"สุขภาพพนักงาน และเจ้าหน้าที่ คือ พื้นฐานขององค์กรแห่งความสุข แต่ก่อนอาจจะไม่มีคนสนใจมากนัก แต่ด้วยปัจจุบันระบบเศรษฐกิจ และสังคม ทำให้หลาย ๆ องค์กร ทำงานอยู่ภายใต้ความกดดัน ความเครียด มีผู้ป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) ในองค์กร เช่น เบาหวาน ความดันโลหิตสูง และโรคมะเร็งต่าง ๆ มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น จึงทำให้หลายคนเริ่มสนใจสุขภาพมากขึ้น"ปัจจัยสำคัญที่จะเป็นกุญแจนำไปสู่การเสริมสร้างองค์กรให้ได้อย่างยั่งยืนว่า อันดับแรกคือ ตัวผู้นำองค์กร ต้องมีวิสัยทัศน์ก้าวไกล ให้ความสำคัญเรื่องสุขภาพของพนักงานในองค์กรเป็นอันดับต้นๆ มีความมั่นคงพอที่จะกล้าลงทุนเรื่องสุขภาพมากกว่าการแสวงหาผลกำไร สองคือ นโยบายขององค์กรหรือบริษัทต้องชัดเจน และต้องมีแผนการทำงานด้านสุขภาพเข้ามารองรับอันดับต่อมาคือ การมีแกนนำและ ทีมเวิร์กที่เข้มแข็ง กระตือรือร้นในการสรรค์สร้างกิจกรรมเพื่อสุขภาพความสมัครสมานสมานมัคคี ไม่แบ่งพวกแบ่งฝ่าย ร่วมกันทำงานเอาเป้าหมายขององค์กรเป็นที่ตั้ง นอกจากนี้ ควรสร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ และควรสร้างแรงจูงใจให้กับพนักงานอยู่เสมอ ท้ายสุดคือ มีการติดตาม ควบคุมการทำงานอยู่ตลอดเวลา สร้างองค์กรให้มีความสุข หรือสร้างองค์กรแห่งความสุข ในหลาย ๆ มิติ อันได้แก่ประกอบด้วย สุขภาพดี(Happy Body) น้ำใจงาม (Happy Heart) สังคมดี(Happy Society) ผ่อนคลาย (Happy Relax) พัฒนาสมอง (Happy Brain) ศาสนาและศีลธรรม (Happy Soul) ปลอดหนี้(Happy Money) และครอบครัวดี(Happy Family) ซึ่งองค์ประกอบเหล่านี้ เป็นต้นทุนของการมีสุขภาพดี สามารถป้องกันการเกิดโรคต่าง ๆ มากม่าย อันได้แก่ โรคในกลุ่มโรคไม่ติดต่อ โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคระบบกล้ามเนื้ออ่อนแรง โรคไขมันในเส้นเลือด และโรคหัวใจ ซึ่งเจ้าหน้าที่ส่วนใหญ่พบในกลุ่มวัยแรงงานและกลุ่มผู้สูงอายุ ข้อมูลส่วนหนึ่งเกิดจากความเครียดและการขาดการออกกำลังกายและบริโภคอาหารไม่ถูกต้องก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพ ซึ่งถ้าเจ้าหน้าที่ในกลุ่มเสี่ยงได้บริโภคอาหารอย่างถูกสุขลักษณะ และมีการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอสามารถทำงานกับเพื่อนร่วมงานได้อย่างมีความสุข ก็สามารถลดปัญหาดังกล่าว
การจัดโครงการให้พนักงานสุขภาพดี สร้างองค์กรเป็นสุข ภายใต้โครงการ จิจแจ่มใส ใจเบิกบาน คนควนโพธิ์ทำงานมีความสุข ปี 2567 ขึ้น ผ่านกองทุนหลักประกันสุขภาพ กองทุนหลักระกันสุขภาพ อบต.ควนโพธิ์ เป็นกองทุนด้านสุขภาพที่ดูแลสุขภาพและเปิดโอกาสให้คนไทยทุกคนทุกสิทธิทำโครงการเพื่อรับสนับสนุนเงินได้โดยการจัดอบรมให้ความรู้ การบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ และหลักการออกกำลังกาย เพื่อเห็นความสำคัญของการออกกำลังกายผ่อนคลาย ไม่จำเจ การเสริมสร้างความสามัคคี การปรับปรุงด้านนโยบายและแนวปฏิบัติขององค์กรการสร้างสิ่งแวดล้อมการทำงานที่เอื้อต่อการมีสุขภาพที่ดี ให้บังเกิดผลต่อสุขภาพที่ดีต่อคนทำงานในองค์กร
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้พนักงานมีสุขภาพดี ห่างไกลโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
- เพื่อลดภาวะเครียดของเจ้าหน้าที่ โดยส่งเสริมกิจกรรมทางกายให้ผ่อนคลาย
- สร้างบรรยาการใ้ห้องค์กรน่าอยู่ น่าทำงาน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมวางแผนแนวทางการทำโครงการคณะทำงานพัฒนาองค์กรแห่งความสุข (Happy Workplace) โดยใช้ความสุขพื้นฐานแปด ประการ (Happy 8) เป็นแนวทางในการบริหารจัดการ
- ประชาสัมพันธ์ การสร้าง อบต.ควนโพธิ์ ให้เป็นองค์กรแห่งความสุข (BOHP Happy Workplace) โดยแนวทางความสุขพื้นฐานแปดประการ (Happy 8)
- ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากร รุ่นที่ 2
- ประกวดบุคลากรต้นแบบ แต่ละเดือน
- ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากร รุ่นที่ 1
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
72
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.เจ้าหน้าที่มีสุขภาพแข็งแรง ห่างไกลโรคไม่ติดต่อเรื้องรัง
2. เจ้าหน้ามีประสิทธิภาพในการทำงานเพิ่มขึ้น
3. สร้างความเข้มแข็งในองค์กร(Team work)
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้พนักงานมีสุขภาพดี ห่างไกลโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของเจ้าหน้าที่กลุ่มเสี่ยงไม่เป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง(NCD)
72.00
72.00
2
เพื่อลดภาวะเครียดของเจ้าหน้าที่ โดยส่งเสริมกิจกรรมทางกายให้ผ่อนคลาย
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของเจ้าหน้าที่ไม่มีภาวะเครียดจากการทำงาน
72.00
57.00
3
สร้างบรรยาการใ้ห้องค์กรน่าอยู่ น่าทำงาน
ตัวชี้วัด : ระดับความพึงพอใจของเจ้าหน้าที่ /พนักงาน พึงพอใจต่อบรรยากาศการทำงานไม่น้อยกว่าร้อละ 90
75.00
67.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
72
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
72
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
0
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้พนักงานมีสุขภาพดี ห่างไกลโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (2) เพื่อลดภาวะเครียดของเจ้าหน้าที่ โดยส่งเสริมกิจกรรมทางกายให้ผ่อนคลาย (3) สร้างบรรยาการใ้ห้องค์กรน่าอยู่ น่าทำงาน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมวางแผนแนวทางการทำโครงการคณะทำงานพัฒนาองค์กรแห่งความสุข (Happy Workplace) โดยใช้ความสุขพื้นฐานแปด ประการ (Happy
เป็นแนวทางในการบริหารจัดการ (2) ประชาสัมพันธ์ การสร้าง อบต.ควนโพธิ์ ให้เป็นองค์กรแห่งความสุข (BOHP Happy Workplace) โดยแนวทางความสุขพื้นฐานแปดประการ (Happy
(3) ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากร รุ่นที่ 2 (4) ประกวดบุคลากรต้นแบบ แต่ละเดือน (5) ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากร รุ่นที่ 1
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
จิตแจ่มใส ใจเบิกบาน ภาคีคนทำงานเป็นสุข จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 67-L5302-2-17
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายซาการิยา โต๊ะหมาด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ จิตแจ่มใส ใจเบิกบาน ภาคีคนทำงานเป็นสุข ”
ตำบลควนโพธิ์ อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นายซาการิยา โต๊ะหมาด
ธันวาคม 2567
ที่อยู่ ตำบลควนโพธิ์ อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 67-L5302-2-17 เลขที่ข้อตกลง 16/2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กันยายน 2567 ถึง 31 ธันวาคม 2567
กิตติกรรมประกาศ
"จิตแจ่มใส ใจเบิกบาน ภาคีคนทำงานเป็นสุข จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลควนโพธิ์ อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ควนโพธิ์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
จิตแจ่มใส ใจเบิกบาน ภาคีคนทำงานเป็นสุข
บทคัดย่อ
โครงการ " จิตแจ่มใส ใจเบิกบาน ภาคีคนทำงานเป็นสุข " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลควนโพธิ์ อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 67-L5302-2-17 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กันยายน 2567 - 31 ธันวาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 107,660.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ควนโพธิ์ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
"สุขภาพพนักงาน และเจ้าหน้าที่ คือ พื้นฐานขององค์กรแห่งความสุข แต่ก่อนอาจจะไม่มีคนสนใจมากนัก แต่ด้วยปัจจุบันระบบเศรษฐกิจ และสังคม ทำให้หลาย ๆ องค์กร ทำงานอยู่ภายใต้ความกดดัน ความเครียด มีผู้ป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) ในองค์กร เช่น เบาหวาน ความดันโลหิตสูง และโรคมะเร็งต่าง ๆ มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น จึงทำให้หลายคนเริ่มสนใจสุขภาพมากขึ้น"ปัจจัยสำคัญที่จะเป็นกุญแจนำไปสู่การเสริมสร้างองค์กรให้ได้อย่างยั่งยืนว่า อันดับแรกคือ ตัวผู้นำองค์กร ต้องมีวิสัยทัศน์ก้าวไกล ให้ความสำคัญเรื่องสุขภาพของพนักงานในองค์กรเป็นอันดับต้นๆ มีความมั่นคงพอที่จะกล้าลงทุนเรื่องสุขภาพมากกว่าการแสวงหาผลกำไร สองคือ นโยบายขององค์กรหรือบริษัทต้องชัดเจน และต้องมีแผนการทำงานด้านสุขภาพเข้ามารองรับอันดับต่อมาคือ การมีแกนนำและ ทีมเวิร์กที่เข้มแข็ง กระตือรือร้นในการสรรค์สร้างกิจกรรมเพื่อสุขภาพความสมัครสมานสมานมัคคี ไม่แบ่งพวกแบ่งฝ่าย ร่วมกันทำงานเอาเป้าหมายขององค์กรเป็นที่ตั้ง นอกจากนี้ ควรสร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ และควรสร้างแรงจูงใจให้กับพนักงานอยู่เสมอ ท้ายสุดคือ มีการติดตาม ควบคุมการทำงานอยู่ตลอดเวลา สร้างองค์กรให้มีความสุข หรือสร้างองค์กรแห่งความสุข ในหลาย ๆ มิติ อันได้แก่ประกอบด้วย สุขภาพดี(Happy Body) น้ำใจงาม (Happy Heart) สังคมดี(Happy Society) ผ่อนคลาย (Happy Relax) พัฒนาสมอง (Happy Brain) ศาสนาและศีลธรรม (Happy Soul) ปลอดหนี้(Happy Money) และครอบครัวดี(Happy Family) ซึ่งองค์ประกอบเหล่านี้ เป็นต้นทุนของการมีสุขภาพดี สามารถป้องกันการเกิดโรคต่าง ๆ มากม่าย อันได้แก่ โรคในกลุ่มโรคไม่ติดต่อ โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคระบบกล้ามเนื้ออ่อนแรง โรคไขมันในเส้นเลือด และโรคหัวใจ ซึ่งเจ้าหน้าที่ส่วนใหญ่พบในกลุ่มวัยแรงงานและกลุ่มผู้สูงอายุ ข้อมูลส่วนหนึ่งเกิดจากความเครียดและการขาดการออกกำลังกายและบริโภคอาหารไม่ถูกต้องก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพ ซึ่งถ้าเจ้าหน้าที่ในกลุ่มเสี่ยงได้บริโภคอาหารอย่างถูกสุขลักษณะ และมีการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอสามารถทำงานกับเพื่อนร่วมงานได้อย่างมีความสุข ก็สามารถลดปัญหาดังกล่าว
การจัดโครงการให้พนักงานสุขภาพดี สร้างองค์กรเป็นสุข ภายใต้โครงการ จิจแจ่มใส ใจเบิกบาน คนควนโพธิ์ทำงานมีความสุข ปี 2567 ขึ้น ผ่านกองทุนหลักประกันสุขภาพ กองทุนหลักระกันสุขภาพ อบต.ควนโพธิ์ เป็นกองทุนด้านสุขภาพที่ดูแลสุขภาพและเปิดโอกาสให้คนไทยทุกคนทุกสิทธิทำโครงการเพื่อรับสนับสนุนเงินได้โดยการจัดอบรมให้ความรู้ การบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ และหลักการออกกำลังกาย เพื่อเห็นความสำคัญของการออกกำลังกายผ่อนคลาย ไม่จำเจ การเสริมสร้างความสามัคคี การปรับปรุงด้านนโยบายและแนวปฏิบัติขององค์กรการสร้างสิ่งแวดล้อมการทำงานที่เอื้อต่อการมีสุขภาพที่ดี ให้บังเกิดผลต่อสุขภาพที่ดีต่อคนทำงานในองค์กร
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้พนักงานมีสุขภาพดี ห่างไกลโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
- เพื่อลดภาวะเครียดของเจ้าหน้าที่ โดยส่งเสริมกิจกรรมทางกายให้ผ่อนคลาย
- สร้างบรรยาการใ้ห้องค์กรน่าอยู่ น่าทำงาน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมวางแผนแนวทางการทำโครงการคณะทำงานพัฒนาองค์กรแห่งความสุข (Happy Workplace) โดยใช้ความสุขพื้นฐานแปด ประการ (Happy 8) เป็นแนวทางในการบริหารจัดการ
- ประชาสัมพันธ์ การสร้าง อบต.ควนโพธิ์ ให้เป็นองค์กรแห่งความสุข (BOHP Happy Workplace) โดยแนวทางความสุขพื้นฐานแปดประการ (Happy 8)
- ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากร รุ่นที่ 2
- ประกวดบุคลากรต้นแบบ แต่ละเดือน
- ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากร รุ่นที่ 1
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 72 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.เจ้าหน้าที่มีสุขภาพแข็งแรง ห่างไกลโรคไม่ติดต่อเรื้องรัง
2. เจ้าหน้ามีประสิทธิภาพในการทำงานเพิ่มขึ้น
3. สร้างความเข้มแข็งในองค์กร(Team work)
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้พนักงานมีสุขภาพดี ห่างไกลโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของเจ้าหน้าที่กลุ่มเสี่ยงไม่เป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง(NCD) |
72.00 | 72.00 |
|
|
2 | เพื่อลดภาวะเครียดของเจ้าหน้าที่ โดยส่งเสริมกิจกรรมทางกายให้ผ่อนคลาย ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของเจ้าหน้าที่ไม่มีภาวะเครียดจากการทำงาน |
72.00 | 57.00 |
|
|
3 | สร้างบรรยาการใ้ห้องค์กรน่าอยู่ น่าทำงาน ตัวชี้วัด : ระดับความพึงพอใจของเจ้าหน้าที่ /พนักงาน พึงพอใจต่อบรรยากาศการทำงานไม่น้อยกว่าร้อละ 90 |
75.00 | 67.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 72 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 72 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 0 | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้พนักงานมีสุขภาพดี ห่างไกลโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (2) เพื่อลดภาวะเครียดของเจ้าหน้าที่ โดยส่งเสริมกิจกรรมทางกายให้ผ่อนคลาย (3) สร้างบรรยาการใ้ห้องค์กรน่าอยู่ น่าทำงาน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมวางแผนแนวทางการทำโครงการคณะทำงานพัฒนาองค์กรแห่งความสุข (Happy Workplace) โดยใช้ความสุขพื้นฐานแปด ประการ (Happy เป็นแนวทางในการบริหารจัดการ (2) ประชาสัมพันธ์ การสร้าง อบต.ควนโพธิ์ ให้เป็นองค์กรแห่งความสุข (BOHP Happy Workplace) โดยแนวทางความสุขพื้นฐานแปดประการ (Happy
(3) ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากร รุ่นที่ 2 (4) ประกวดบุคลากรต้นแบบ แต่ละเดือน (5) ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากร รุ่นที่ 1
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
จิตแจ่มใส ใจเบิกบาน ภาคีคนทำงานเป็นสุข จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 67-L5302-2-17
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายซาการิยา โต๊ะหมาด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......