โครงการส่งเสริมโภชนาการเด็กวัยก่อนเรียนโดยใช้รูปแบบการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง ครูพี่เลี้ยง และผู้ประกอบการ ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลทุ่งกระบือ
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมโภชนาการเด็กวัยก่อนเรียนโดยใช้รูปแบบการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง ครูพี่เลี้ยง และผู้ประกอบการ ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลทุ่งกระบือ ”
ตำบลทุ่งกระบือ อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นายสมภพ ทับเที่ยง
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งกระบือ
กันยายน 2567
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมโภชนาการเด็กวัยก่อนเรียนโดยใช้รูปแบบการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง ครูพี่เลี้ยง และผู้ประกอบการ ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลทุ่งกระบือ
ที่อยู่ ตำบลทุ่งกระบือ อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 67-L1504-1-03 เลขที่ข้อตกลง 27/2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 สิงหาคม 2567 ถึง 13 กันยายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมโภชนาการเด็กวัยก่อนเรียนโดยใช้รูปแบบการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง ครูพี่เลี้ยง และผู้ประกอบการ ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลทุ่งกระบือ จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งกระบือ อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งกระบือ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมโภชนาการเด็กวัยก่อนเรียนโดยใช้รูปแบบการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง ครูพี่เลี้ยง และผู้ประกอบการ ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลทุ่งกระบือ
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมโภชนาการเด็กวัยก่อนเรียนโดยใช้รูปแบบการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง ครูพี่เลี้ยง และผู้ประกอบการ ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลทุ่งกระบือ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งกระบือ อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 67-L1504-1-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 สิงหาคม 2567 - 13 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,297.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งกระบือ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เด็กในช่วงชีวิตปฐมวัยเป็นช่วงวัยที่สำคัญที่สุดของการเจริญเติบโตและพัฒนาการทุกด้าน เป็นจุดเริ่มต้นของการวางรากฐานคุณภาพชีวิตจิตใจของบุคคลเมื่อโตเป็นผู้ใหญ่ เด็กและเยาวชนที่มีคุณภาพ เป็นพื้นฐานสำคัญของการพัฒนาสังคมไทย ภาวะโภชนาการเป็นดัชนีบ่งชี้ที่ดีของภาวะสุขภาพโดยรวมของเด็ก และภาวะโภชนาการที่ดีเป็นต้นทุนสำคัญที่ส่งเสริมให้เด็กเติบโตได้เต็มศักยภาพ เด็กวัยก่อนเรียนเป็นวัยที่มีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วทั้งด้านร่างกายและสมอง รวมถึงพัฒนาการทุกด้านของชีวิตการเจริญเติบโตของอวัยวะทั้งภายนอกและภายใน จะเป็นไปอย่างรวดเร็วมากกว่าวัยอื่นๆ โดยเมื่ออายุ 3 ปี สมองจะมี การเจริญเติบโตถึงร้อยละ 90 ของทั้งหมด การขาดสารอาหาร โดยเฉพาะสารอาหารที่ให้โปรตีนและพลังงาน จะมีผลต่อการเจริญเติบโตของเซลล์สมองของเด็กมาก ทำให้เซลล์สมองมีขนาดเล็ก ซึ่งจะมีผลต่อสติปัญญาและการเรียนรู้ เมื่อพ้นช่วงวัยนี้ไปแล้วถึงแม้จะได้รับการแก้ไขโดยการให้อาหารเพิ่มขึ้น ก็ไม่สามารถทำให้ การเจริญเติบโตของสมองกลับมาสมบูรณ์เป็นปกติได้ นอกจากนี้การขาดสารอาหารในเด็กก่อนวัยเรียน ยังมีผลต่อความสามารถในการต้านโรคของเด็กด้วย ซึ่งจะส่งผลให้ติดเชื้อง่าย เกิดโรคต่างๆได้ง่าย
ประเทศไทยมีเด็กอายุระหว่าง 2 ขวบครึ่ง - 5 ขวบหรือเรียกว่า เด็กก่อนวัยเรียน ที่อยู่ในศูนย์ เด็กเล็กทุกสังกัด 19,715 แห่งประมาณ 942,583 คน คิดเป็นร้อยละ37 ของจำนวนเด็กปฐมวัยในประเทศไทย (มูลนิธิสาธารณสุขแห่งชาติ, 2553) เป็นวัยที่ไม่สามารถดูแลตนเองในเรื่องการเลือกอาหารและ การรับประทานอาหารได้เมื่อถึงวัยที่ต้องเข้ารับการศึกษา นอกจากผู้ปกครองที่ต้องดูแลจัดการด้านอาหารแล้ว ยังมีครูพี่เลี้ยงและผู้ประกอบอาหารในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กก็มีบทบาทสำคัญในการดูแลจัดการด้านอาหารที่มีประโยชน์ให้ครบ 5 หมู่ และมีปริมาณเพียงพอกับความต้องการของร่างกาย ดังนั้นจึงต้องเป็นผู้ที่มีทั้งความรู้ ทัศนคติที่ดี และพฤติกรรมในการจัดอาหารอย่างถูกต้องและเหมาะสม เพื่อให้เด็กวัยก่อนเรียนได้รับอาหารที่ครบถ้วนกับความต้องการของร่างกาย มีการเจริญเติบโตและพัฒนาการที่ดี
จากการสำรวจภาวะการเจริญเติบโตและพัฒนาการ ของสำนักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย พบว่า จากรายงานระบบคลังข้อมูล และการแพทย์สุขภาพ (Health Data Center : HDC) สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ ของจังหวัดตรัง ในไตรมาสที่ 4 ปีงบประมาณ 2566 เด็กมีการเจริญเติบโตสูงดีสมส่วน ร้อยละ48.39 ภาวะเตี้ยร้อยละ 12.89 ภาวะผอม ร้อยละ 5.49 ภาวะเริ่มอ้วน/อ้วน ร้อยละ 8.79 และไตรมาส ที่ 2 ปีงบประมาณ 2567 เด็กมีการเจริญเติบโตสูงดีสมส่วน ร้อยละ 60.32 ภาวะเตี้ยร้อยละ 20.97 ภาวะผอม ร้อยละ 2.69 ภาวะอ้วน ร้อยละ 3.23 (สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์, 2561) พบว่าเด็กอายุ 0 – 5 ปี มีภาวการณ์เจริญเติบโต สูงดีสมส่วน เพิ่มขึ้นเล็กน้อย แต่ยังต่ำอยู่ และมีภาวะเตี้ย เพิ่มขึ้น ทำให้อนาคตโอกาสเด็กเสี่ยงมีภาวะอ้วนเพิ่มขึ้น ซึ่งเกณฑ์มาตรฐานเด็กอายุ 0-5ปี สูงดีสมส่วน ต้องผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 66 ภาวะเตี้ย ไม่มากกว่าร้อยละ 10 ภาวะผอมไม่มากกว่า ร้อยละ 5 ภาวะอ้วนไม่มากกว่า ร้อยละ 10
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลทุ่งกระบือ ได้รับการประเมินมาตรฐานศูนย์เด็กเล็กคุณภาพในระดับจังหวัด ปี พ.ศ. 2561 ในระดับดีมาก ด้านการส่งเสริมสุขภาพ เด็กทุกคนได้รับการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการโดยการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง ทุก 3 เดือน การสำรวจภาวะโภชนาการเด็ก ในไตรมาสที่ 1 (เดือนเมษายน-มิถุนายน 2567) จำนวนเด็กวัยก่อนเรียนทั้งหมด 62 ราย พบว่า ยังมีเด็กที่มีปัญหาโภชนาการ ซึ่งเมื่อเทียบกับตัวชี้วัดงานโภชนาการของสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2567 พบว่าภาวะโภชนาการในเด็กวัยก่อนเรียนในศูนย์เด็กเล็กเทศบาลตำบลทุ่งกระบือยังต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน
ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านนานิน ได้เล็งเห็นความสำคัญของปัญหาภาวะโภชนาการที่เกิดขึ้นและต้องการความร่วมมือจากผู้ปกครองในการดูแลลูกของตัวเอง จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมโภชนาการเด็กวัยก่อนเรียนโดยใช้รูปแบบการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง ครูพี่เลี้ยง และผู้ประกอบการ กรณีศึกษา ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาล ต.ทุ่งกระบือ อ.ย่านตาขาว จ. ตรัง ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก และผู้ประกอบอาหารในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลทุ่งกระบือ มีความรู้ในการส่งเสริมโภชนาการเด็กวัยก่อนเรียนเพิ่มมากขึ้น
- เพื่อให้ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก และผู้ประกอบอาหารในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลทุ่งกระบือ มีทัศนคติที่ดีขึ้นในการส่งเสริมโภชนาการเด็กวัยก่อนเรียน
- เพื่อให้ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก และผู้ประกอบอาหารในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลทุ่งกระบือ มีพฤติกรรมในการส่งเสริมโภชนาการเด็กวัยก่อนเรียนที่ถูกต้องและถูกวิธี
- ผู้ปกครองสามารถกำหนดตัวอย่างอาหารที่มีประโยชน์ ครบ 5 หมู่ และปริมาณเพียงพอแก่เด็กได้ อย่างถูกต้อง เหมาะสม
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
69
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก และผู้ประกอบการในศูนย์พัฒนาการเด็กเทศบาลตำบลทุ่งกระบือมีความรู้ ในการส่งเสริมโภชนาการเด็กวัยก่อนเรียนเพิ่มขึ้นร้อยละ 80
2.ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก และผู้ประกอบการในศูนย์พัฒนาการเด็กเทศบาลตำบลทุ่งกระบือมีทัศนคติในการส่งเสริมโภชนาการเด็กวัยก่อนเรียนที่ดีขึ้นร้อยละ 80
3.ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก และผู้ประกอบการในศูนย์พัฒนาการเด็กเทศบาลตำบลทุ่งกระบือมีพฤติกรรมในการส่งเสริมโภชนาการเด็กวัยก่อนเรียนที่ถูกต้องและถูกวิธี ร้อยละ 80
4.ผู้ปกครองสามารถกำหนดตัวอย่างอาหารที่มีประโยชน์ ครบ 5 หมู่ และปริมาณเพียงพอแก่เด็กได้ตั้งแต่ 5 อย่างขึ้นไป
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก และผู้ประกอบอาหารในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลทุ่งกระบือ มีความรู้ในการส่งเสริมโภชนาการเด็กวัยก่อนเรียนเพิ่มมากขึ้น
ตัวชี้วัด :
2
เพื่อให้ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก และผู้ประกอบอาหารในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลทุ่งกระบือ มีทัศนคติที่ดีขึ้นในการส่งเสริมโภชนาการเด็กวัยก่อนเรียน
ตัวชี้วัด :
3
เพื่อให้ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก และผู้ประกอบอาหารในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลทุ่งกระบือ มีพฤติกรรมในการส่งเสริมโภชนาการเด็กวัยก่อนเรียนที่ถูกต้องและถูกวิธี
ตัวชี้วัด :
4
ผู้ปกครองสามารถกำหนดตัวอย่างอาหารที่มีประโยชน์ ครบ 5 หมู่ และปริมาณเพียงพอแก่เด็กได้ อย่างถูกต้อง เหมาะสม
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
69
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
69
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก และผู้ประกอบอาหารในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลทุ่งกระบือ มีความรู้ในการส่งเสริมโภชนาการเด็กวัยก่อนเรียนเพิ่มมากขึ้น (2) เพื่อให้ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก และผู้ประกอบอาหารในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลทุ่งกระบือ มีทัศนคติที่ดีขึ้นในการส่งเสริมโภชนาการเด็กวัยก่อนเรียน (3) เพื่อให้ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก และผู้ประกอบอาหารในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลทุ่งกระบือ มีพฤติกรรมในการส่งเสริมโภชนาการเด็กวัยก่อนเรียนที่ถูกต้องและถูกวิธี (4) ผู้ปกครองสามารถกำหนดตัวอย่างอาหารที่มีประโยชน์ ครบ 5 หมู่ และปริมาณเพียงพอแก่เด็กได้ อย่างถูกต้อง เหมาะสม
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมโภชนาการเด็กวัยก่อนเรียนโดยใช้รูปแบบการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง ครูพี่เลี้ยง และผู้ประกอบการ ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลทุ่งกระบือ จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 67-L1504-1-03
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายสมภพ ทับเที่ยง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมโภชนาการเด็กวัยก่อนเรียนโดยใช้รูปแบบการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง ครูพี่เลี้ยง และผู้ประกอบการ ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลทุ่งกระบือ ”
ตำบลทุ่งกระบือ อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นายสมภพ ทับเที่ยง
กันยายน 2567
ที่อยู่ ตำบลทุ่งกระบือ อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 67-L1504-1-03 เลขที่ข้อตกลง 27/2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 สิงหาคม 2567 ถึง 13 กันยายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมโภชนาการเด็กวัยก่อนเรียนโดยใช้รูปแบบการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง ครูพี่เลี้ยง และผู้ประกอบการ ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลทุ่งกระบือ จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งกระบือ อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งกระบือ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมโภชนาการเด็กวัยก่อนเรียนโดยใช้รูปแบบการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง ครูพี่เลี้ยง และผู้ประกอบการ ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลทุ่งกระบือ
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมโภชนาการเด็กวัยก่อนเรียนโดยใช้รูปแบบการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง ครูพี่เลี้ยง และผู้ประกอบการ ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลทุ่งกระบือ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งกระบือ อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 67-L1504-1-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 สิงหาคม 2567 - 13 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,297.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งกระบือ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เด็กในช่วงชีวิตปฐมวัยเป็นช่วงวัยที่สำคัญที่สุดของการเจริญเติบโตและพัฒนาการทุกด้าน เป็นจุดเริ่มต้นของการวางรากฐานคุณภาพชีวิตจิตใจของบุคคลเมื่อโตเป็นผู้ใหญ่ เด็กและเยาวชนที่มีคุณภาพ เป็นพื้นฐานสำคัญของการพัฒนาสังคมไทย ภาวะโภชนาการเป็นดัชนีบ่งชี้ที่ดีของภาวะสุขภาพโดยรวมของเด็ก และภาวะโภชนาการที่ดีเป็นต้นทุนสำคัญที่ส่งเสริมให้เด็กเติบโตได้เต็มศักยภาพ เด็กวัยก่อนเรียนเป็นวัยที่มีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วทั้งด้านร่างกายและสมอง รวมถึงพัฒนาการทุกด้านของชีวิตการเจริญเติบโตของอวัยวะทั้งภายนอกและภายใน จะเป็นไปอย่างรวดเร็วมากกว่าวัยอื่นๆ โดยเมื่ออายุ 3 ปี สมองจะมี การเจริญเติบโตถึงร้อยละ 90 ของทั้งหมด การขาดสารอาหาร โดยเฉพาะสารอาหารที่ให้โปรตีนและพลังงาน จะมีผลต่อการเจริญเติบโตของเซลล์สมองของเด็กมาก ทำให้เซลล์สมองมีขนาดเล็ก ซึ่งจะมีผลต่อสติปัญญาและการเรียนรู้ เมื่อพ้นช่วงวัยนี้ไปแล้วถึงแม้จะได้รับการแก้ไขโดยการให้อาหารเพิ่มขึ้น ก็ไม่สามารถทำให้ การเจริญเติบโตของสมองกลับมาสมบูรณ์เป็นปกติได้ นอกจากนี้การขาดสารอาหารในเด็กก่อนวัยเรียน ยังมีผลต่อความสามารถในการต้านโรคของเด็กด้วย ซึ่งจะส่งผลให้ติดเชื้อง่าย เกิดโรคต่างๆได้ง่าย
ประเทศไทยมีเด็กอายุระหว่าง 2 ขวบครึ่ง - 5 ขวบหรือเรียกว่า เด็กก่อนวัยเรียน ที่อยู่ในศูนย์ เด็กเล็กทุกสังกัด 19,715 แห่งประมาณ 942,583 คน คิดเป็นร้อยละ37 ของจำนวนเด็กปฐมวัยในประเทศไทย (มูลนิธิสาธารณสุขแห่งชาติ, 2553) เป็นวัยที่ไม่สามารถดูแลตนเองในเรื่องการเลือกอาหารและ การรับประทานอาหารได้เมื่อถึงวัยที่ต้องเข้ารับการศึกษา นอกจากผู้ปกครองที่ต้องดูแลจัดการด้านอาหารแล้ว ยังมีครูพี่เลี้ยงและผู้ประกอบอาหารในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กก็มีบทบาทสำคัญในการดูแลจัดการด้านอาหารที่มีประโยชน์ให้ครบ 5 หมู่ และมีปริมาณเพียงพอกับความต้องการของร่างกาย ดังนั้นจึงต้องเป็นผู้ที่มีทั้งความรู้ ทัศนคติที่ดี และพฤติกรรมในการจัดอาหารอย่างถูกต้องและเหมาะสม เพื่อให้เด็กวัยก่อนเรียนได้รับอาหารที่ครบถ้วนกับความต้องการของร่างกาย มีการเจริญเติบโตและพัฒนาการที่ดี
จากการสำรวจภาวะการเจริญเติบโตและพัฒนาการ ของสำนักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย พบว่า จากรายงานระบบคลังข้อมูล และการแพทย์สุขภาพ (Health Data Center : HDC) สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ ของจังหวัดตรัง ในไตรมาสที่ 4 ปีงบประมาณ 2566 เด็กมีการเจริญเติบโตสูงดีสมส่วน ร้อยละ48.39 ภาวะเตี้ยร้อยละ 12.89 ภาวะผอม ร้อยละ 5.49 ภาวะเริ่มอ้วน/อ้วน ร้อยละ 8.79 และไตรมาส ที่ 2 ปีงบประมาณ 2567 เด็กมีการเจริญเติบโตสูงดีสมส่วน ร้อยละ 60.32 ภาวะเตี้ยร้อยละ 20.97 ภาวะผอม ร้อยละ 2.69 ภาวะอ้วน ร้อยละ 3.23 (สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์, 2561) พบว่าเด็กอายุ 0 – 5 ปี มีภาวการณ์เจริญเติบโต สูงดีสมส่วน เพิ่มขึ้นเล็กน้อย แต่ยังต่ำอยู่ และมีภาวะเตี้ย เพิ่มขึ้น ทำให้อนาคตโอกาสเด็กเสี่ยงมีภาวะอ้วนเพิ่มขึ้น ซึ่งเกณฑ์มาตรฐานเด็กอายุ 0-5ปี สูงดีสมส่วน ต้องผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 66 ภาวะเตี้ย ไม่มากกว่าร้อยละ 10 ภาวะผอมไม่มากกว่า ร้อยละ 5 ภาวะอ้วนไม่มากกว่า ร้อยละ 10
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลทุ่งกระบือ ได้รับการประเมินมาตรฐานศูนย์เด็กเล็กคุณภาพในระดับจังหวัด ปี พ.ศ. 2561 ในระดับดีมาก ด้านการส่งเสริมสุขภาพ เด็กทุกคนได้รับการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการโดยการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง ทุก 3 เดือน การสำรวจภาวะโภชนาการเด็ก ในไตรมาสที่ 1 (เดือนเมษายน-มิถุนายน 2567) จำนวนเด็กวัยก่อนเรียนทั้งหมด 62 ราย พบว่า ยังมีเด็กที่มีปัญหาโภชนาการ ซึ่งเมื่อเทียบกับตัวชี้วัดงานโภชนาการของสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2567 พบว่าภาวะโภชนาการในเด็กวัยก่อนเรียนในศูนย์เด็กเล็กเทศบาลตำบลทุ่งกระบือยังต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน
ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านนานิน ได้เล็งเห็นความสำคัญของปัญหาภาวะโภชนาการที่เกิดขึ้นและต้องการความร่วมมือจากผู้ปกครองในการดูแลลูกของตัวเอง จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมโภชนาการเด็กวัยก่อนเรียนโดยใช้รูปแบบการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง ครูพี่เลี้ยง และผู้ประกอบการ กรณีศึกษา ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาล ต.ทุ่งกระบือ อ.ย่านตาขาว จ. ตรัง ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก และผู้ประกอบอาหารในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลทุ่งกระบือ มีความรู้ในการส่งเสริมโภชนาการเด็กวัยก่อนเรียนเพิ่มมากขึ้น
- เพื่อให้ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก และผู้ประกอบอาหารในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลทุ่งกระบือ มีทัศนคติที่ดีขึ้นในการส่งเสริมโภชนาการเด็กวัยก่อนเรียน
- เพื่อให้ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก และผู้ประกอบอาหารในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลทุ่งกระบือ มีพฤติกรรมในการส่งเสริมโภชนาการเด็กวัยก่อนเรียนที่ถูกต้องและถูกวิธี
- ผู้ปกครองสามารถกำหนดตัวอย่างอาหารที่มีประโยชน์ ครบ 5 หมู่ และปริมาณเพียงพอแก่เด็กได้ อย่างถูกต้อง เหมาะสม
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 69 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก และผู้ประกอบการในศูนย์พัฒนาการเด็กเทศบาลตำบลทุ่งกระบือมีความรู้ ในการส่งเสริมโภชนาการเด็กวัยก่อนเรียนเพิ่มขึ้นร้อยละ 80 2.ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก และผู้ประกอบการในศูนย์พัฒนาการเด็กเทศบาลตำบลทุ่งกระบือมีทัศนคติในการส่งเสริมโภชนาการเด็กวัยก่อนเรียนที่ดีขึ้นร้อยละ 80 3.ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก และผู้ประกอบการในศูนย์พัฒนาการเด็กเทศบาลตำบลทุ่งกระบือมีพฤติกรรมในการส่งเสริมโภชนาการเด็กวัยก่อนเรียนที่ถูกต้องและถูกวิธี ร้อยละ 80 4.ผู้ปกครองสามารถกำหนดตัวอย่างอาหารที่มีประโยชน์ ครบ 5 หมู่ และปริมาณเพียงพอแก่เด็กได้ตั้งแต่ 5 อย่างขึ้นไป
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก และผู้ประกอบอาหารในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลทุ่งกระบือ มีความรู้ในการส่งเสริมโภชนาการเด็กวัยก่อนเรียนเพิ่มมากขึ้น ตัวชี้วัด : |
|
|||
2 | เพื่อให้ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก และผู้ประกอบอาหารในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลทุ่งกระบือ มีทัศนคติที่ดีขึ้นในการส่งเสริมโภชนาการเด็กวัยก่อนเรียน ตัวชี้วัด : |
|
|||
3 | เพื่อให้ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก และผู้ประกอบอาหารในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลทุ่งกระบือ มีพฤติกรรมในการส่งเสริมโภชนาการเด็กวัยก่อนเรียนที่ถูกต้องและถูกวิธี ตัวชี้วัด : |
|
|||
4 | ผู้ปกครองสามารถกำหนดตัวอย่างอาหารที่มีประโยชน์ ครบ 5 หมู่ และปริมาณเพียงพอแก่เด็กได้ อย่างถูกต้อง เหมาะสม ตัวชี้วัด : |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 69 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 69 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก และผู้ประกอบอาหารในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลทุ่งกระบือ มีความรู้ในการส่งเสริมโภชนาการเด็กวัยก่อนเรียนเพิ่มมากขึ้น (2) เพื่อให้ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก และผู้ประกอบอาหารในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลทุ่งกระบือ มีทัศนคติที่ดีขึ้นในการส่งเสริมโภชนาการเด็กวัยก่อนเรียน (3) เพื่อให้ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก และผู้ประกอบอาหารในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลทุ่งกระบือ มีพฤติกรรมในการส่งเสริมโภชนาการเด็กวัยก่อนเรียนที่ถูกต้องและถูกวิธี (4) ผู้ปกครองสามารถกำหนดตัวอย่างอาหารที่มีประโยชน์ ครบ 5 หมู่ และปริมาณเพียงพอแก่เด็กได้ อย่างถูกต้อง เหมาะสม
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมโภชนาการเด็กวัยก่อนเรียนโดยใช้รูปแบบการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง ครูพี่เลี้ยง และผู้ประกอบการ ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลทุ่งกระบือ จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 67-L1504-1-03
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายสมภพ ทับเที่ยง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......