กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา


“ โครงการชุมชนบำบัดยาเสพติดอย่างยั่งยืน ชุมชนบ้านโฮ๊ะ ”



หัวหน้าโครงการ
นางสาวอาลัชฎาวรรณ สุวรรณะ

ชื่อโครงการ โครงการชุมชนบำบัดยาเสพติดอย่างยั่งยืน ชุมชนบ้านโฮ๊ะ

ที่อยู่ จังหวัด

รหัสโครงการ 67-L5275-01-013 เลขที่ข้อตกลง 35

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการชุมชนบำบัดยาเสพติดอย่างยั่งยืน ชุมชนบ้านโฮ๊ะ จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการชุมชนบำบัดยาเสพติดอย่างยั่งยืน ชุมชนบ้านโฮ๊ะ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการชุมชนบำบัดยาเสพติดอย่างยั่งยืน ชุมชนบ้านโฮ๊ะ " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ 67-L5275-01-013 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 46,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามที่รัฐบาลได้กำหนดให้การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดเป็นวาระแห่งชาติ เนื่องจากปัญหายาเสพติด เป็นปัญหาความมั่นคงที่ส่งผลกระทบต่อการบริหารและการพัฒนาประเทศทั้งในพื้นที่หมู่บ้าน ชุมชน รวมทั้งปัญหาทางด้านสังคม เศรษฐกิจ สาธารณสุข และความปลอดภัยในชีวิตทรัพย์สิน การติดยาเสพติดเป็นปัญหาที่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อภาวะสุขภาพ ชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชน และอาจก่อให้เกิดความเสียหายร้ายแรงต่อสังคมและประเทศชาติ และมีการคาดการณ์แนวโน้มว่าจำนวนผู้เสพ ผู้ติดยาเสพติดจะเพิ่มขึ้นตามสภาพการเปลี่ยนแปลงของสังคม มีความสัมพันธ์เกี่ยวเนื่องกับปัญหาเศรษฐกิจ การศึกษาโครงสร้างและสัมพันธภาพของครอบครัว การเลี้ยงดู ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีต่าง ๆ ซึ่งปัญหาอาชญากรรมหลายประเภทที่เกิดขึ้น เช่น คดีข่มขืน ฆ่า ลักทรัพย์ วิ่งราวทรัพย์ ชิงทรัพย์ ปล้นทรัพย์ ทำร้ายร่างกาย เป็นต้น ผู้ก่อเหตุในหลายคดีเป็นผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับยาเสพติด ไม่ว่าจะในฐานะเป็นผู้ผลิต ผู้ค้า ผู้เสพ หรือผู้ที่สนับสนุนอยู่เบื้องหลัง ผลกระทบที่เกิดจากยาเสพติดเป็นตัวบ่อนทำลายสุขภาพของผู้เสพติดและความสงบสุขของประชาชนในการดำรงชีวิตอย่างปกติสุข การดำเนินการแก้ไขปัญหาการแพร่ระบาดของยาเสพติดในโดยมีจุดมุ่งหมายเสริมสร้างให้ชุมชนเกิดความเข้มแข็ง สร้างความรู้ความเข้าใจและรับรู้ ปัญหาพิษภัยที่เกิดขึ้นจากยาเสพติด ที่มีผลกระทบต่อตนเอง ครอบครัว สังคม ประเทศชาติ ทางการแพทย์ปัจจุบันให้ถือว่าการเสพติดยาคือการเจ็บป่วย เป็นโรคสมองติดยาที่ต้องได้รับการรักษาและเป็นภัยต่อสุขภาพที่สำคัญ ส่งผลกระทบถึงความมั่นคงของประเทศ การดำเนินการที่ผ่านมา พบว่า ผู้เสพยาที่ผ่านการบำบัดขาดภูมิคุ้มกันทางใจ ขาดความรู้และทักษะในการประกอบอาชีพ จึงกลับไปใช้ยาเสพติด ซ้ำอีก รวมถึงการบำบัดต้องครอบคลุมถึงครอบครัวผู้เสพติด เพื่อแก้ไขปัญหายาเสพติดแบบครบวงจร มุ่งหวังช่วยให้ ผู้ผ่านการบำบัดมีพลังในการดำเนินชีวิต และอยู่ร่วมกับสังคมได้อย่างสงบสุข สร้างชุมชนเข้มแข็ง ชุมชนช่วยซึ่งกันและกัน การบำบัดโดยชุมชนมีส่วนร่วมนำไปสู่ชุมชนเข้มแข็งแบบยั่งยืน การดูแลผู้ใช้ยาเสพติดให้เกิดการบำบัดฟื้นฟูใกล้บ้านหรือภายในชุมชนอย่างต่อเนื่อง ภายใต้ทิศทางการเปลี่ยนแปลงในระดับสากล ให้เป็นไปตามหลักการสาธารณสุขและสิทธิมนุษยชน มีกระบวนการตั้งแต่การค้นหา คัดกรอง ฟื้นฟู และลดอันตรายจากยาเสพติด อีกทั้งสร้างภูมิคุ้มกันทางใจและติดตาม ดูแล ช่วยเหลือ จากครอบครัวร่วมกับชุมชน โดยทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมแบบบูรณาการเพื่อคืนคนดีกลับสู่สังคม การป้องกันยาเสพติดไม่ให้มีผู้เสพยาเสพติดรายใหม่ ปลุกประชาชนให้ตื่นตัวและร่วมกันแก้ปัญหายาเสพติด ลดความรุนแรงจากปัญหาผู้ที่มีอาการจิตเวชจากยาเสพติด ลดจำนวนผู้เสพยาเสพติดด้วยการบำบัดรักษาและต่อยอดการแก้ไขปัญหาผู้ผ่านการบำบัดอย่างครบวงจร ปราบปรามหรือทำลายโครงสร้างเครือข่ายกลุ่มนักค้ายาเสพติด และดำเนินการทางมาตรการทางทรัพย์สินด้วยการตัดวงจรทางการเงินและการริบทรัพย์สิน รวมถึงบริหารจัดการอย่างบูรณาการของทุกภาคส่วนร่วมกัน การแก้ปัญหาผู้เสพ ผู้ติดยาเสพติดและผู้ใช้ยาเสพติด โดยกระบวนการนำผู้เสพ ผู้ติดยาเสพติด เข้าสู่กระบวนการบำบัดรักษาที่เหมาะสม ผ่านคัดกรองโดยเจ้าหน้าที่ นำเข้าการบำบัดรักษาตามระดับความรุนแรงของการใช้ยาเสพติด และมีการติดตามดูแล ช่วยเหลืออย่างเป็นระบบ จากการบูรณาการทำงานระหว่างชุมชนบ้านโฮ๊ะ อสม. รพ.สต.บ้านหินผุด สถานีตำรวจภูธรทุ่งตำเสา ผู้ใหญ่บ้าน เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา และหน่วยงานอื่นๆที่เกี่ยวข้องในการดำเนินการชุมชนบำบัดยาเสพติดอย่างยั่งยืน เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตให้ผู้ที่ผ่านการบำบัดรักษาใด้กลับมาใช้ชีวิตในสังคมอย่างปกติสุข การดำเนินการเน้นการมีส่วนร่วมของชุมชนในการบำบัด (CBTx) ร่วมกับภาคีเครือข่ายและดำเนินการลดอันตรายจากยาเสพติด (Harm Reduction) สถานการณ์ ผู้รับการบำบัดยาเสพติดตำบลทุ่งตำเสามีจำนวน 11 ราย ที่เข้าสู่ระบบการคัดกรองและรายงานตัวกิจกรรมบำเพ็ญประโยชน์จำนวน 2 ราย ชุมชนบ้านโฮ๊ะ มีประชากรทั้งหมด 1,258 คน ชาย 633 คน หญิง 625 จำนวน 452 ครัวเรือน กลุ่มเป้าหมายที่ต้องการดำเนินการคัดกรองร้อยละ 100 กลุ่มเป้าหมายที่ตรวจพบสมัครเข้ารับการบำบัดแบบชุมชนบำบัด (CBTx) มีการติดตามเฝ้าระวังโดยภาคีเครือข่ายในการแก้ปัญหายาเสพติดในชุมชนอย่างยั่งยืน
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา เห็นถึงความสำคัญของปัญหายาเสพติดในชุมชน การป้องกัน การดูแล การรักษา การฟื้นฟู การบำบัดผู้เสพติดโดยการมีส่วนร่วมชองชุมชน [Community based Treatment and Rehabilitation (CBTx)] หรือเรียกว่าชุมชนบำบัด (CBTx) มุ่งหวังการลดอันตรายจากการใช้สารเสพติด ของผู้ติดยาเสพติดตามแนวทางการช่วยเหลือบำบัดรักษาทางการแพทย์ที่มีประสิทธิภาพ และการบำบัดรักษา การช่วยเหลือผู้ติดยาเสพติดโดยชุมชน จึงได้ทำ “โครงการชุมชนบำบัดยาเสพติดอย่างยั่งยืน บ้านโฮ๊ะ” ขึ้น เพื่อสร้างชุมชุมเข้มแข็งอย่างยั่งยืนในการแก้ปัญหายาเสพติดในชุมชน สร้างกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชนแบบบูรณาการการจัดการปัญหายาเสพติดโดยชุมชนบำบัด

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ ๑ เพื่อคัดกรอง ค้นหา ผู้เสพ ผู้ใช้ ผู้ติดสารเสพติดในชุมชน สร้างชุมชนยั่งยืนในการแก้ไขปัญหายาเสพติด
  2. ข้อที่ ๒ ผู้เสพ ผู้ใช้ ผู้ติดสารเสพติด เข้าสู่กระบวนการบำบัดรักษา ฟื้นฟู หรือส่งต่อเข้าระบบการรักษา มีการติดตามผลโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน
  3. ข้อที่ ๓ ส่งเสริมชุมชนและภาคีเครือข่ายร่วมสร้างชุมชนบำบัดยาเสพติดอย่างยั่งยืน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ๑. ประชุมชี้แจงแนวทาง และแผนการจัดกิจกรรมร่วมกับคระกรรมการหมู่บ้าน ผู้นำชุมชน กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน และประชาชนที่เข้าร่วมโครงการ
  2. ๒. อบรมให้ความรู้ เรื่อง พิษภัยจากยาเสพติด ทีมวิทยากรจาก โรงพยาบาลธัญญารักษ์ สงขลา
  3. 3. กิจกรรม “คัดกรอง ค้นหาผู้เสพ ผู้ใช้ ผู้ติดสารเสพติดในชุมชน ” ลงพื้นที่รวมกับภาคีเครือข่ายในชุมชน 3.๑ จัดทำทะเบียนผู้เสพ ผู้ใช้ ผู้ติดสารเสพติดในชุมชน 3.๒ ลงพื้นที่คัดกรองร่วมภาคีเครือข่ายและส่งผู้สมัครใจเข้าสู่กระบวนการบำบัด รักษ
  4. ๔. จัดกิจกรรม “ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม” ๔.๑ กิจกรรมกลุ่มบำบัด ๔.๒ กิจกรรมครอบครัวบำบัด ๔.๓ กิจกรรมจิตอาสาพัฒนาชุมชน
  5. 5.กิจกรรมถอดบทเรียน ชุมชนบำบัดยาเสพติด แกนนำชุมชน ตัวแทนภาคีเครือข่าย คณะทำงาน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 452
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ชุมชนเข้มแข็งมีกระบวนการป้องกันและแก้ปัญหายาเสพติดในชุมชนอย่างต่อเนื่อง
  2. ผู้เสพ ผู้ใช้ ผู้ติดสารเสพติดในชุมชนได้รับการคัดกรอง นำเข้าสู่กระบวนการรักษา ฟื้นฟู ดูแล ช่วยเหลือจากชุมชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
  3. มีการบูรณาการทำงานร่วมกันระหว่างหมู่บ้าน ชุมชน อสม. ตำรวจ ฝ่ายปกครอง ท้องที่ ท้องถิ่น ในการแก้ปัญหายาเสพติดในชุมชน
  4. ชุมชนเข้มแข็งมีระบบการเฝ้าระวังและการติดตามการแก้ไขปัญหายาเสพติดในชุมชน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ ๑ เพื่อคัดกรอง ค้นหา ผู้เสพ ผู้ใช้ ผู้ติดสารเสพติดในชุมชน สร้างชุมชนยั่งยืนในการแก้ไขปัญหายาเสพติด
ตัวชี้วัด : - ร้อยละ 100 ของจำนวนครัวเรือนหมู่ที่ 5 มีการคัดกรอง ค้นหาผู้เสพ ผู้ใช้ ผู้ติดยาเสพติด
0.00

 

2 ข้อที่ ๒ ผู้เสพ ผู้ใช้ ผู้ติดสารเสพติด เข้าสู่กระบวนการบำบัดรักษา ฟื้นฟู หรือส่งต่อเข้าระบบการรักษา มีการติดตามผลโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน
ตัวชี้วัด : - ร้อยละ ๕๐ ของผู้ได้รับการคัดกรอง เข้าสู่กระบวนการบำบัด รักษา และติดตามผลอย่างต่อเนื่อง
0.00

 

3 ข้อที่ ๓ ส่งเสริมชุมชนและภาคีเครือข่ายร่วมสร้างชุมชนบำบัดยาเสพติดอย่างยั่งยืน
ตัวชี้วัด : - ภาคีเครือข่ายที่ร่วมแก้ปัญหายาเสพติดในชุมชน
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 452
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 452
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ ๑ เพื่อคัดกรอง ค้นหา ผู้เสพ ผู้ใช้ ผู้ติดสารเสพติดในชุมชน สร้างชุมชนยั่งยืนในการแก้ไขปัญหายาเสพติด (2) ข้อที่ ๒ ผู้เสพ ผู้ใช้ ผู้ติดสารเสพติด เข้าสู่กระบวนการบำบัดรักษา ฟื้นฟู หรือส่งต่อเข้าระบบการรักษา มีการติดตามผลโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน (3) ข้อที่ ๓ ส่งเสริมชุมชนและภาคีเครือข่ายร่วมสร้างชุมชนบำบัดยาเสพติดอย่างยั่งยืน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ๑.  ประชุมชี้แจงแนวทาง และแผนการจัดกิจกรรมร่วมกับคระกรรมการหมู่บ้าน ผู้นำชุมชน กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน และประชาชนที่เข้าร่วมโครงการ (2) ๒.  อบรมให้ความรู้ เรื่อง พิษภัยจากยาเสพติด ทีมวิทยากรจาก โรงพยาบาลธัญญารักษ์ สงขลา (3) 3.  กิจกรรม “คัดกรอง ค้นหาผู้เสพ ผู้ใช้ ผู้ติดสารเสพติดในชุมชน ” ลงพื้นที่รวมกับภาคีเครือข่ายในชุมชน          3.๑  จัดทำทะเบียนผู้เสพ ผู้ใช้ ผู้ติดสารเสพติดในชุมชน          3.๒  ลงพื้นที่คัดกรองร่วมภาคีเครือข่ายและส่งผู้สมัครใจเข้าสู่กระบวนการบำบัด รักษ (4) ๔. จัดกิจกรรม “ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม”            ๔.๑ กิจกรรมกลุ่มบำบัด            ๔.๒ กิจกรรมครอบครัวบำบัด          ๔.๓ กิจกรรมจิตอาสาพัฒนาชุมชน (5) 5.กิจกรรมถอดบทเรียน ชุมชนบำบัดยาเสพติด แกนนำชุมชน ตัวแทนภาคีเครือข่าย คณะทำงาน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการชุมชนบำบัดยาเสพติดอย่างยั่งยืน ชุมชนบ้านโฮ๊ะ จังหวัด

รหัสโครงการ 67-L5275-01-013

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวอาลัชฎาวรรณ สุวรรณะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด