กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา


“ โครงการสุขภาพดี ชีวียั่งยืน สร้างสุขด้วยสุขศาลา (Health Station) ปีงบประมาณ 2567 ”

ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
พ.จ.อ. สกล วัฒนอัมพร ตำแหน่ง หัวหน้าฝ่ายส่งเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการสุขภาพดี ชีวียั่งยืน สร้างสุขด้วยสุขศาลา (Health Station) ปีงบประมาณ 2567

ที่อยู่ ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ L7250-1-12 เลขที่ข้อตกลง 53/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 สิงหาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสุขภาพดี ชีวียั่งยืน สร้างสุขด้วยสุขศาลา (Health Station) ปีงบประมาณ 2567 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสุขภาพดี ชีวียั่งยืน สร้างสุขด้วยสุขศาลา (Health Station) ปีงบประมาณ 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสุขภาพดี ชีวียั่งยืน สร้างสุขด้วยสุขศาลา (Health Station) ปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ L7250-1-12 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 สิงหาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 168,200.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไม่ติดต่อเป็นสาเหตุการเสียชีวิต ๒ ใน ๓ ของประชากรไทย ส่งผลต่อ ทั้งต้านเศรษฐกิจและการพัฒนาประเทศอีกทั้งมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นในช่วงสองทศวรรษ ที่ผ่านมา ซึ่งมีสาเหตุจากปัจจัยหลายด้านตั้งแต่ การจัดบริการคัดกรองไม่ทั่วถึงและประชาชนขาดโอกาสในการเข้าถึงบริการและองค์ความรู้ในการจัดการตนเอง ระหว่างสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคไวรัสโควิด - ๑๙ กระทรวงสาธารณสุข ได้มีนโยบายลดความแออัดในสถานพยาบาล ทำให้เกิดนวัตกรรมการให้บริการคัดกรองและติดตามภาวะความดันและน้ำตาลในเลือดนอกสถานพยาบาล มีการบันทึกข้อมูลสุขภาพของประชาชน และส่งต่อข้อมูลกับสถานพยาบาล โดยมีสถานที่ตั้งให้บริการอยู่ในชุมชน มีชื่อเรียกว่า สถานีสุขภาพติจิทัล (Digital Health Station) ซึ่งหมายถึง สถานที่สำหรับ ให้บริการตรวจสุขภาพด้วยตนเองของประชาชนทุกกลุ่มวัย ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการได้ตลอดเวลาเมื่อมีความต้องการตรวจเช็คสุขภาพของตนเอง หรือเมื่อแพทย์ต้องการติดตามภาวะสุขภาพของผู้ป่วย กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลนครสงขลาจึงมีความคาดหวังว่าจะช่วยให้ประชาชนทั้งกลุ่มปกติ และกลุ่มป่วยสามารถเข้าถึงบริการ การตรวจเฝ้าระวังทางสุขภาพได้สะดวกขึ้น และลดอัตราการป่วย การเสียชีวิตจากโรคไม่ติดต่อ เรื้อรังลงได้ จึงได้เขียนโครงการนำร่องจัดตั้งสถานีคัดกรองสุขภาพชุมชน สุขศาลา (Health Station) ขึ้น ในพื้นที่เขตบริการของเทศบาลนครสงขลาโดยจะนำร่องจัดตั้งทั้งหมด จำนวน 1 จุดบริการ คือ ชุมชนย่านเมืองเก่า ตำบลบ่อยาง อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา เพื่อความสะดวกในการเข้าถึงการคัดกรองสุขภาพเบื้องต้นด้วยตนเอง เพิ่มขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้มีระบบบริการเฝ้าระวังและคัดกรองภาวะสุขภาพ เป็นจุดให้บริการตรวจเช็คสุขภาพ และรวบรวมองค์ความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพเบื้องต้นด้วยตนเองในชุมชน สุขศาลา (Health station)
  2. 2 เพื่อยกระดับกลไกการขับเคลื่อนความรอบรู้ด้านสุขภาพ เพื่อให้คนทุกช่วงวัยมีสุขภาวะดีอยู่ในสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ
  3. 3 เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชนในการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมตามสภาพปัญหาของพื้นที่

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 7.1 กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ ให้แก่แกนนำ อสม. เจ้าหน้าที่จุดบริการนักท่องเที่ยวและประชาชนทั่วไป เจ้าหน้าที่คณะทำงาน และวิทยากร รวม 60 คน เพื่อให้สามารถใช้อุปกรณ์และให้คำแนะนำแก่ผู้มาใช้บริการ สุขศาลา (Health Station)
  2. 7.2 กิจกรรมจัดหาชุดเครื่องมือ อุปกรณ์ในการใช้ในจุดบริการจัดตั้งสถานีคัดกรองสุขภาพชุมชน สุขศาลา(Health station)
  3. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับกลุ่มเป้าหมายและผู้เกี่ยวข้อง
  4. ค่าวิทยากรบรรยาย
  5. ค่าวิทยากรแบ่งกลุ่มฝึกปฏิบัติ
  6. วัสดุอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับการฝึกอบรม
  7. ป้ายแสดง “จุดบริการตรวจเช็คสุขภาพด้วยตนเอง สุขศาลา Health station
  8. ค่าเครื่องชั่งน้ำหนักแบบดิจิทัลพร้อมที่วัดส่วนสูง
  9. ค่าเครื่องวัดความดันโลหิตชนิดอัตโนมัติแบบสอดแขน
  10. โต๊ะพับขาว
  11. ค่าเก้าอี้มีพนักพิงไม่มีล้อสำหรับนั่งวัดความดันโลหิต นั่งลงทะเบียน และนั่งรอตรวจ
  12. สื่อความรู้ต่างๆที่เกี่ยวข้องกับโรคไม่ติดต่อและปัจจัยเสี่ยงของโรคไม่ติดต่อ
  13. ค่าเครื่องฟื้นคืนคลื่นหัวใจด้วยไฟฟ้าแบบอัตโนมัติ
  14. วัสดุอุปกรณ์อื่นๆ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนได้รับบริการเครื่องมือ อุปกรณ์สำหรับคัดกรองสุขภาพที่ใกล้บ้านในชุมชน
    ๒. ประชาชนในชุมชนเข้าถึงบริการตรวจสุขภาพได้มากขึ้น สะดวกยิ่งขึ้น
    1. ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจ สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลสุขภาพให้ดียิ่งขึ้น
    2. อัตราป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อลดลง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้มีระบบบริการเฝ้าระวังและคัดกรองภาวะสุขภาพ เป็นจุดให้บริการตรวจเช็คสุขภาพ และรวบรวมองค์ความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพเบื้องต้นด้วยตนเองในชุมชน สุขศาลา (Health station)
ตัวชี้วัด : 2. ผู้เข้าร่วมอบรมมีองค์ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพเบื้องต้นได้ด้วยตนเอง 80%
80.00

 

2 2 เพื่อยกระดับกลไกการขับเคลื่อนความรอบรู้ด้านสุขภาพ เพื่อให้คนทุกช่วงวัยมีสุขภาวะดีอยู่ในสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ
ตัวชี้วัด : 2. ผู้เข้าร่วมอบรมมีองค์ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพเบื้องต้นได้ด้วยตนเอง 80%
80.00

 

3 3 เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชนในการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมตามสภาพปัญหาของพื้นที่
ตัวชี้วัด : 3. ประชาชนผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจ 70%
70.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้มีระบบบริการเฝ้าระวังและคัดกรองภาวะสุขภาพ เป็นจุดให้บริการตรวจเช็คสุขภาพ และรวบรวมองค์ความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพเบื้องต้นด้วยตนเองในชุมชน สุขศาลา (Health station) (2) 2 เพื่อยกระดับกลไกการขับเคลื่อนความรอบรู้ด้านสุขภาพ เพื่อให้คนทุกช่วงวัยมีสุขภาวะดีอยู่ในสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (3) 3 เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชนในการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมตามสภาพปัญหาของพื้นที่

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 7.1 กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ ให้แก่แกนนำ อสม. เจ้าหน้าที่จุดบริการนักท่องเที่ยวและประชาชนทั่วไป เจ้าหน้าที่คณะทำงาน  และวิทยากร รวม 60 คน เพื่อให้สามารถใช้อุปกรณ์และให้คำแนะนำแก่ผู้มาใช้บริการ  สุขศาลา (Health Station) (2) 7.2 กิจกรรมจัดหาชุดเครื่องมือ อุปกรณ์ในการใช้ในจุดบริการจัดตั้งสถานีคัดกรองสุขภาพชุมชน สุขศาลา(Health station) (3) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับกลุ่มเป้าหมายและผู้เกี่ยวข้อง (4) ค่าวิทยากรบรรยาย (5) ค่าวิทยากรแบ่งกลุ่มฝึกปฏิบัติ (6) วัสดุอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับการฝึกอบรม (7) ป้ายแสดง “จุดบริการตรวจเช็คสุขภาพด้วยตนเอง สุขศาลา Health station (8) ค่าเครื่องชั่งน้ำหนักแบบดิจิทัลพร้อมที่วัดส่วนสูง (9) ค่าเครื่องวัดความดันโลหิตชนิดอัตโนมัติแบบสอดแขน (10) โต๊ะพับขาว (11) ค่าเก้าอี้มีพนักพิงไม่มีล้อสำหรับนั่งวัดความดันโลหิต นั่งลงทะเบียน และนั่งรอตรวจ (12) สื่อความรู้ต่างๆที่เกี่ยวข้องกับโรคไม่ติดต่อและปัจจัยเสี่ยงของโรคไม่ติดต่อ (13) ค่าเครื่องฟื้นคืนคลื่นหัวใจด้วยไฟฟ้าแบบอัตโนมัติ (14) วัสดุอุปกรณ์อื่นๆ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการสุขภาพดี ชีวียั่งยืน สร้างสุขด้วยสุขศาลา (Health Station) ปีงบประมาณ 2567 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ L7250-1-12

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( พ.จ.อ. สกล วัฒนอัมพร ตำแหน่ง หัวหน้าฝ่ายส่งเสริมสุขภาพ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด