กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการพัฒนาศักยภาพ ในการปฏิบัติงาน อสม. ตำบลทุ่งลาน ปี 2567 ”
ตำบลทุ่งลาน อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นางสุจรรยา กาญจนมิ่ง ประธานชมรม อสม.ตำบลทุ่งลาน




ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาศักยภาพ ในการปฏิบัติงาน อสม. ตำบลทุ่งลาน ปี 2567

ที่อยู่ ตำบลทุ่งลาน อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ L5169-67-2-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 9 กันยายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2567

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาศักยภาพ ในการปฏิบัติงาน อสม. ตำบลทุ่งลาน ปี 2567 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งลาน อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งลาน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาศักยภาพ ในการปฏิบัติงาน อสม. ตำบลทุ่งลาน ปี 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาศักยภาพ ในการปฏิบัติงาน อสม. ตำบลทุ่งลาน ปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งลาน อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ L5169-67-2-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 9 กันยายน 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 70,253.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งลาน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปีงบประมาณ 2564 กระทรวงสาธารณสุข ได้กำหนดนโยบาย “คนไทยทุกครอบครัวมีหมอประจำตัว 3 คน” ได้แก่ หมอคนที่ ๑ อสม.หมอประจำบ้าน หมอคนที่ ๒ หมอสาธารณสุข และหมอคนที่ ๓ หมอเวชศาสตร์ ครอบครัว เป็นของขวัญปีใหม่ประจำปี ๒๕๖๔ สำหรับประชาชน เพื่อสร้างหลักประกันให้คนไทยทุกครอบครัว มีหมอประจำตัว ๓ คน ได้รับการดูแล ให้คำปรึกษา และช่วยเหลือทั้งในภาวะปกติและภาวะวิกฤติ เพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้ประชาชนสามารถดูแลสุขภาพตนเองได้ และชุมชนมีศักยภาพในการพึ่งพาตนเองได้อย่าง
ยั่งยืน โดยให้ความสำคัญในการส่งเสริม พัฒนาศักยภาพ อสม. และระบบกลไก องค์กร อสม. ในการเสริมสร้างการดูแลสุขภาพคนในชุมชนอย่างเข้มแข็ง ให้สามารถทำงานเชื่อมโยงกับหน่วยบริการสาธารณสุขในพื้นที่ และภาคีเครือข่าย หนุนเสริมการจัดบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิ จึงได้จัดทำคู่มือสำหรับแกนนำอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านที่เป็นผู้ได้รับการคัดเลือกให้เข้ารับการอบรมตามหลักสูตรพัฒนาศักยภาพ อสม. สู่การเป็น สมาร์ทอสม.และ อสม. หมอประจำบ้านขึ้นมา เป็นการสนับสนุนนโยบายคนไทยทุกครอบครัวมีหมอประจำตัว 3 คน เพื่อพัฒนาและยกระดับ อสม. ให้เป็น อสม. หมอประจำบ้านเพิ่มขึ้นในการดูแลสุขภาพของคนในชุมชน และพัฒนาระบบเฝ้า ระวัง ป้องกันโรคและภัยคุกคามด้านสุขภาพ อันจะส่งผลให้ประชาชนในชุมชนได้รับบริการที่มีคุณภาพ มาตรฐาน และยั่งยืนต่อไป ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข ซึ่งมีบทบาทในการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพอาสาสมัคร สาธารณสุข (อสม.) ให้สามารถดูแลและมีส่วนร่วมในการจัดการสุขภาพของประชาชนในชุมชน ด้วยการเป็นผู้ถ่ายทอดความรู้ ด้านสุขภาพ ให้บริการสาธารณสุขขั้นพื้นฐานและเชื่อมประสานระหว่างหน่วยงานต่างๆ ในชุมชน เพื่อให้เกิดการ แก้ไขปัญหาด้านสุขภาพในชุมชน จึงมีนโยบายที่จะพัฒนาความรู้และทักษะที่จำเป็นในการปฏิบัติ งานของ อสม. ตลอดจนพัฒนาระบบการเฝ้าระวังและดูแลผู้ป่วยด้วยโรคที่เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของชุมชน โดยมี เป้าหมายที่จะดำเนินการอบรมฟื้นฟูพัฒนาศักยภาพ อสม. ในทุกหมู่บ้านให้เป็นผู้มีความรู้ความเชี่ยวชาญในเรื่องที่ เป็นปัญหาสาธารณสุขในชุมชน เพื่อนนำไปถ่ายทอดความรู้ ให้บริการและประสานงานกับชุมชนได้อย่างมี ประสิทธิภาพ จึงได้จัดทำโครงการอบรมฟื้นฟูความรู้เพื่อพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเพิ่มพูนความรู้ ทักษะทางด้านวิชาการสาธารณสุขเพื่อให้ อสม. สามารถนำนโยบายไปสู่การ ปฏิบัติ และแก้ไขปัญหาในชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  2. เพื่อส่งเสริมให้ อสม. ที่ได้รับการพัฒนาการรักษาพยาบาลเบื้องต้น คัดกรองผู้ป่วย และสามารถ ดำเนินงานสุขภาพชุมชนในเขตพื้นที่ตำบลทุ่งลานและในเขตหลังคาเรือนรับผิดชอบ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมประชุมชี้แจงและอบรมพัฒนาศักยภาพ อสม.

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ 1- 9 97

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน มีโอกาสได้รับการพัฒนาศักยภาพของตนเอง ทั้งในด้านการ บริหาร วิชาการ และการปฏิบัติเพื่อยกระดับการบริการประชาชนและมีหน้าที่ในการสร้างสุขภาพและบริการของ ชุมชนตนเอง เพื่อให้ประชาชนพึ่งตนเองได้อย่างมีรูปธรรม รวมถึงอาสาสมัครสาธารณสุข สามารถนำประสบการณ์ ที่ได้รับไปใช้ในการศึกษาต่อเนื่องด้วยตนเอง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเพิ่มพูนความรู้ ทักษะทางด้านวิชาการสาธารณสุขเพื่อให้ อสม. สามารถนำนโยบายไปสู่การ ปฏิบัติ และแก้ไขปัญหาในชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด : อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ได้รับการถ่ายทอดความรู้ในการปฏิบัติงานและมีทักษะในการปฏิบัติได้ถูกต้องร้อยละ 100
100.00

 

2 เพื่อส่งเสริมให้ อสม. ที่ได้รับการพัฒนาการรักษาพยาบาลเบื้องต้น คัดกรองผู้ป่วย และสามารถ ดำเนินงานสุขภาพชุมชนในเขตพื้นที่ตำบลทุ่งลานและในเขตหลังคาเรือนรับผิดชอบ
ตัวชี้วัด : อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) สามารถนำความรู้ไปดำเนินงานดูแลสุขภาพในพื้นที่ได้อย่างเหมาะสม ร้อยละ 100
100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 97
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ 1- 9 97

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มพูนความรู้ ทักษะทางด้านวิชาการสาธารณสุขเพื่อให้ อสม. สามารถนำนโยบายไปสู่การ ปฏิบัติ และแก้ไขปัญหาในชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ (2) เพื่อส่งเสริมให้ อสม. ที่ได้รับการพัฒนาการรักษาพยาบาลเบื้องต้น คัดกรองผู้ป่วย และสามารถ ดำเนินงานสุขภาพชุมชนในเขตพื้นที่ตำบลทุ่งลานและในเขตหลังคาเรือนรับผิดชอบ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมประชุมชี้แจงและอบรมพัฒนาศักยภาพ อสม.

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการพัฒนาศักยภาพ ในการปฏิบัติงาน อสม. ตำบลทุ่งลาน ปี 2567 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ L5169-67-2-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสุจรรยา กาญจนมิ่ง ประธานชมรม อสม.ตำบลทุ่งลาน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด