โครงการสูงวัยสุขภาพดี ด้วยโยคะและสมาธิบำบัด SKT
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการสูงวัยสุขภาพดี ด้วยโยคะและสมาธิบำบัด SKT ”
หัวหน้าโครงการ
นายอนันต์ สุวรรณราช
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาละ
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการสูงวัยสุขภาพดี ด้วยโยคะและสมาธิบำบัด SKT
ที่อยู่ จังหวัด
รหัสโครงการ 67-L4117-03-03 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 5 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการสูงวัยสุขภาพดี ด้วยโยคะและสมาธิบำบัด SKT จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาละ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการสูงวัยสุขภาพดี ด้วยโยคะและสมาธิบำบัด SKT
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการสูงวัยสุขภาพดี ด้วยโยคะและสมาธิบำบัด SKT " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ 67-L4117-03-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 5 กุมภาพันธ์ 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,720.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาละ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ผู้สูงอายุเป็นวัยที่สามารถเกิดความวิตกกังวลและความเครียดได้ง่าย เพราะมีการ เปลี่ยนแปลงในด้านต่าง ๆ โดยเฉพาะการเปลี่ยนแปลงของสภาพร่างกายที่มีการเสื่อมสภาพ และมี สุขภาพไม่แข็งแรง ซึ่งส่งผลทำให้เกิดโรคเรื้อรังต่าง ๆ อีกทั้งยังมีการเปลี่ยนแปลงทางด้านจิตใจ และสังคม ที่มีสาเหตุมาจากการสูญเสียคนรัก สูญเสียการสมาคม ทำให้มีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่นลดลง สูญเสียสภาวะทางเศรษฐกิจและ มีการเปลี่ยนแปลงบทบาทสถานภาพทางสังคม เป็นต้น และการเปลี่ยนแปลงด้านร่างกาย จิตใจ และสังคมที่เกิดขึ้นในผู้สูงอายุนี้มีผลทำให้ผู้สูงอายุต้องเผชิญกับ ภาวะความรู้สึกต่าง ๆ ซึ่งก่อให้เกิดผลกระทบต่อจิตใจของผู้สูงอายุ 5 ประการ คือ รู้สึกโดดเดี่ยว, ขาดความมั่นใจ, กลัวตาย, หมดหวัง, เศร้าและหดหู่ ส่งผลให้เกิด ความเครียดได้ตั้งแต่ระดับเล็กน้อยไปจนถึงระดับรุนแรง และหากผู้สูงอายุมีอายุมากขึ้นก็อาจจะมีแนวโน้มในการเกิดความเครียดที่เพิ่มขึ้นด้วย ถือว่าผู้สูงอายุเป็นกลุ่มที่มีความเสี่ยงสูงต่อการเกิด ปัญหาทางสุขภาพจิต เช่น ภาวะเครียด วิตกกังวล และซึมเศร้า เพราะผู้สูงอายุส่วนใหญ่ไม่สามารถ เผชิญกับปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น และไม่สามารถจัดการกับความเครียดได้อย่างเหมาะสม จึงส่งผล กระทบต่อการดำเนินชีวิตของผู้สูงอายุในสังคม
ปัญหาสุขภาพจิตในผู้สูงอายุเป็นสิ่งที่ควรให้ความสำคัญ เพื่อที่จะหาแนวทางช่วยส่งเสริม ให้ผู้สูงมีสุขภาพจิตที่ดี มีความสุขในการใช้ชีวิต เห็นคุณค่าในตัวเอง และมีความสนใจที่จะเรียนรู้สิ่ง ต่าง ๆ เป็นต้น การจัดกิจกรรมบำบัดความเครียดในผู้สูงอายุเพื่อให้ผู้สูงอายุเกิดความสุขสงบและ ผ่อนคลาย จะเน้น การส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุแบบบูรณาการ ด้วยการเล่นโยคะ ที่ช่วยให้ร่างกายผ่อนคลาย ลดความเครียด และบรรเทาอาการเจ็บป่วยต่าง ๆ ได้ ซึ่งเมื่อได้ทำการฝึกเป็นประจำจะช่วยทำให้เกิดสมาธิและปัญญา ซึ่งจะส่งผลให้การตัดสินใจในเรื่องต่าง ๆ และควบคุมอารมณ์ได้ดีขึ้น ส่วนสมาธิบำบัด SKT เป็นการฝึกการควบคุมประสาทสัมผัสทั้ง ๖ คือ ตา หู จมูก สิ้น สัมผัส และการเคลื่อนไหว เป็นการนำหลักประสาทวิทยาศาสตร์มาผสมผสานกับการปฏิบัติสมาธิ จะทำให้ร่างกายได้รับสาร เมลาโทนิน (Melatonin) สารโดปามีน (dopamine) ซึ่งเป็นสารต้านอนุมูลอิสระ กระตุ้นภูมิคุ้มกัน รักษาความสมดุลให้กับร่างกาย ช่วยในการกำจัดของเสียภายในร่างกายและยับยั้งเซลล์มะเร็งได้เป็นอย่างดี ซึ่งมีประสิทธิภาพในการเยียวยารักษาผู้ป่วยโรคเรื้อรังให้มีสุขภาพที่ดีขึ้น ช่วยลดความดันโลหิต ลดระดับน้ำตาลในเลือด ผ่อนคลายกล้ามเนื้อ เพิ่มภูมิต้านทานโรคเรื้อรัง ลดอาการท้องผูก แก้ปัญหาไหลเวียนโลหิต ภูมิแพ้ ช่วยให้นอนหลับดี หลับลึก รักษาอาการนอนไม่หลับได้ และยังช่วยในการรักษาโรคพาร์กินสัน ด้วยการทำสมาธิบำบัด SKT มีวิธีการทำที่ง่าย และให้ผลดีในหลายด้าน SKT คือตัวย่อที่มาจากชื่อของ รศ.ดร. สมพร กันทรดุษฎีเตรียมชัยศรี อาจารย์ประจำภาควิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ซึ่งเป็นผู้พัฒนาเทคนิคนี้ขึ้นมา
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- จัดอบรมให้ความรู้ตามหัวข้อกิจกรรม
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1 ผู้สูงอายุสามารถออกกำลังด้วยโยคะได้ถูกต้อง
2 ผู้สูงอายุมีสุขภาพกาย สุขภาพจิตที่ดี
3 ผู้สูงอายุสามารถผ่อนคลายด้วยการมาพบปะเพื่อนๆ
4 ผู้สูงอายุสามารถทำสมาธิบำบัด SKT ได้ถูกต้อง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. จัดอบรมให้ความรู้ตามหัวข้อกิจกรรม
วันที่ 1 สิงหาคม 2567 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
-
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
-
50
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
50
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมให้ความรู้ตามหัวข้อกิจกรรม
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการสูงวัยสุขภาพดี ด้วยโยคะและสมาธิบำบัด SKT จังหวัด
รหัสโครงการ 67-L4117-03-03
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายอนันต์ สุวรรณราช )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการสูงวัยสุขภาพดี ด้วยโยคะและสมาธิบำบัด SKT ”
หัวหน้าโครงการ
นายอนันต์ สุวรรณราช
กันยายน 2568
ที่อยู่ จังหวัด
รหัสโครงการ 67-L4117-03-03 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 5 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการสูงวัยสุขภาพดี ด้วยโยคะและสมาธิบำบัด SKT จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาละ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการสูงวัยสุขภาพดี ด้วยโยคะและสมาธิบำบัด SKT
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการสูงวัยสุขภาพดี ด้วยโยคะและสมาธิบำบัด SKT " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ 67-L4117-03-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 5 กุมภาพันธ์ 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,720.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาละ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ผู้สูงอายุเป็นวัยที่สามารถเกิดความวิตกกังวลและความเครียดได้ง่าย เพราะมีการ เปลี่ยนแปลงในด้านต่าง ๆ โดยเฉพาะการเปลี่ยนแปลงของสภาพร่างกายที่มีการเสื่อมสภาพ และมี สุขภาพไม่แข็งแรง ซึ่งส่งผลทำให้เกิดโรคเรื้อรังต่าง ๆ อีกทั้งยังมีการเปลี่ยนแปลงทางด้านจิตใจ และสังคม ที่มีสาเหตุมาจากการสูญเสียคนรัก สูญเสียการสมาคม ทำให้มีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่นลดลง สูญเสียสภาวะทางเศรษฐกิจและ มีการเปลี่ยนแปลงบทบาทสถานภาพทางสังคม เป็นต้น และการเปลี่ยนแปลงด้านร่างกาย จิตใจ และสังคมที่เกิดขึ้นในผู้สูงอายุนี้มีผลทำให้ผู้สูงอายุต้องเผชิญกับ ภาวะความรู้สึกต่าง ๆ ซึ่งก่อให้เกิดผลกระทบต่อจิตใจของผู้สูงอายุ 5 ประการ คือ รู้สึกโดดเดี่ยว, ขาดความมั่นใจ, กลัวตาย, หมดหวัง, เศร้าและหดหู่ ส่งผลให้เกิด ความเครียดได้ตั้งแต่ระดับเล็กน้อยไปจนถึงระดับรุนแรง และหากผู้สูงอายุมีอายุมากขึ้นก็อาจจะมีแนวโน้มในการเกิดความเครียดที่เพิ่มขึ้นด้วย ถือว่าผู้สูงอายุเป็นกลุ่มที่มีความเสี่ยงสูงต่อการเกิด ปัญหาทางสุขภาพจิต เช่น ภาวะเครียด วิตกกังวล และซึมเศร้า เพราะผู้สูงอายุส่วนใหญ่ไม่สามารถ เผชิญกับปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น และไม่สามารถจัดการกับความเครียดได้อย่างเหมาะสม จึงส่งผล กระทบต่อการดำเนินชีวิตของผู้สูงอายุในสังคม ปัญหาสุขภาพจิตในผู้สูงอายุเป็นสิ่งที่ควรให้ความสำคัญ เพื่อที่จะหาแนวทางช่วยส่งเสริม ให้ผู้สูงมีสุขภาพจิตที่ดี มีความสุขในการใช้ชีวิต เห็นคุณค่าในตัวเอง และมีความสนใจที่จะเรียนรู้สิ่ง ต่าง ๆ เป็นต้น การจัดกิจกรรมบำบัดความเครียดในผู้สูงอายุเพื่อให้ผู้สูงอายุเกิดความสุขสงบและ ผ่อนคลาย จะเน้น การส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุแบบบูรณาการ ด้วยการเล่นโยคะ ที่ช่วยให้ร่างกายผ่อนคลาย ลดความเครียด และบรรเทาอาการเจ็บป่วยต่าง ๆ ได้ ซึ่งเมื่อได้ทำการฝึกเป็นประจำจะช่วยทำให้เกิดสมาธิและปัญญา ซึ่งจะส่งผลให้การตัดสินใจในเรื่องต่าง ๆ และควบคุมอารมณ์ได้ดีขึ้น ส่วนสมาธิบำบัด SKT เป็นการฝึกการควบคุมประสาทสัมผัสทั้ง ๖ คือ ตา หู จมูก สิ้น สัมผัส และการเคลื่อนไหว เป็นการนำหลักประสาทวิทยาศาสตร์มาผสมผสานกับการปฏิบัติสมาธิ จะทำให้ร่างกายได้รับสาร เมลาโทนิน (Melatonin) สารโดปามีน (dopamine) ซึ่งเป็นสารต้านอนุมูลอิสระ กระตุ้นภูมิคุ้มกัน รักษาความสมดุลให้กับร่างกาย ช่วยในการกำจัดของเสียภายในร่างกายและยับยั้งเซลล์มะเร็งได้เป็นอย่างดี ซึ่งมีประสิทธิภาพในการเยียวยารักษาผู้ป่วยโรคเรื้อรังให้มีสุขภาพที่ดีขึ้น ช่วยลดความดันโลหิต ลดระดับน้ำตาลในเลือด ผ่อนคลายกล้ามเนื้อ เพิ่มภูมิต้านทานโรคเรื้อรัง ลดอาการท้องผูก แก้ปัญหาไหลเวียนโลหิต ภูมิแพ้ ช่วยให้นอนหลับดี หลับลึก รักษาอาการนอนไม่หลับได้ และยังช่วยในการรักษาโรคพาร์กินสัน ด้วยการทำสมาธิบำบัด SKT มีวิธีการทำที่ง่าย และให้ผลดีในหลายด้าน SKT คือตัวย่อที่มาจากชื่อของ รศ.ดร. สมพร กันทรดุษฎีเตรียมชัยศรี อาจารย์ประจำภาควิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ซึ่งเป็นผู้พัฒนาเทคนิคนี้ขึ้นมา
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- จัดอบรมให้ความรู้ตามหัวข้อกิจกรรม
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 50 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1 ผู้สูงอายุสามารถออกกำลังด้วยโยคะได้ถูกต้อง
2 ผู้สูงอายุมีสุขภาพกาย สุขภาพจิตที่ดี
3 ผู้สูงอายุสามารถผ่อนคลายด้วยการมาพบปะเพื่อนๆ
4 ผู้สูงอายุสามารถทำสมาธิบำบัด SKT ได้ถูกต้อง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. จัดอบรมให้ความรู้ตามหัวข้อกิจกรรม |
||
วันที่ 1 สิงหาคม 2567 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ- ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น-
|
50 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย |
---|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 50 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 50 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมให้ความรู้ตามหัวข้อกิจกรรม
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการสูงวัยสุขภาพดี ด้วยโยคะและสมาธิบำบัด SKT จังหวัด
รหัสโครงการ 67-L4117-03-03
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายอนันต์ สุวรรณราช )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......