กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ สุขภาพดีชลอชรา ชีวายืนยาว ”
ตำบลทุ่งลาน อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นางสาวจุรีรัตน์ จันทคาร ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งลาน




ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ สุขภาพดีชลอชรา ชีวายืนยาว

ที่อยู่ ตำบลทุ่งลาน อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ L5169-67-1-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 9 กันยายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ สุขภาพดีชลอชรา ชีวายืนยาว จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งลาน อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งลาน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ สุขภาพดีชลอชรา ชีวายืนยาว



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ สุขภาพดีชลอชรา ชีวายืนยาว " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งลาน อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ L5169-67-1-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 9 กันยายน 2567 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 28,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งลาน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันประเทศไทยเข้าสู่สังคมสูงวัย (Aged society) เนื่องจากจานวนประชากรผู้สูงอายุ ได้มีการเพิ่มขึ้น อย่างรวดเร็ว ทั้งในเชิงขนาดและสัดส่วน โดยในปีพ.ศ.2562 มีจานวนผู้สูงอายุ ร้อยละ 17.5 และในปี2563 จะเป็น ครั้งแรกที่ประเทศไทยมีประชากรผู้สูงอายุมากกว่าประชากรวัยเด็ก ในอนาคตอันใกล้ ประชากรผู้สูงอายุจะเพิ่มขึ้น อีกมาก ประเทศไทยจะกลายเป็นสังคมผู้สูงอายุแบบสมบูรณ์(Complete Aged Society) คือมีผู้สูงอายุร้อยละ 20 ในปี2564 และคาดว่าในปีพ.ศ. 2574 ประเทศไทยจะกลายเป็นสังคมสูงวัยระดับสุดยอด (Super Aged Society) คือมีประชากรผู้สูงอายุร้อยละ 28 จะเห็นว่าความเร็วของการเปลี่ยนจากสังคมสูงวัย (Aged Society) เข้าสู่ สังคม สูงวัยแบบสมบูรณ์ (Complete Aged Society) ของประเทศไทยจะใช้เวลาสั้นกว่ามาก เมื่อเปรียบกับประเทศอื่นๆ ยิ่งไปกว่านั้น (สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล, 2558) ประกอบกับสัดส่วนของผู้สูงอายุวัยปลาย (อายุ80 ปีขึ้นไป) มีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นอย่างชัดเจน และผู้หญิงมากกว่าผู้ชาย เมื่อผู้สูงอายุมีจานวนมากขึ้น อัตราส่วน ประชากรวัยแรงงานต่อการการดูแลวัยสูงอายุ 1 ราย จะมีการเปลี่ยนแปลงตามไปด้วย โดยปีพ.ศ. 2558 ผู้สูงอายุ 1 คน มีวัยแรงงานดูแล 6.8 และปีพ.ศ.2593 ผู้สูงอายุ1 คน มีวัยแรงงานดูแล 2.0 การที่ผู้สูงอายุมีอายุยืนขึ้น ส่งผล ให้เกิดโรค หรือกลุ่มอาการสูงอายุจากความเสื่อม อันเนื่องมาจากการสูงวัยมากขึ้นตามด้วย ซึ่งจะเห็นว่าผู้ป่วยสูงอายุ จะมีลักษณะการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพและสรีรวิทยา รวมทั้งการดูแลรักษาฟื้นฟูที่แตกต่างจากผู้ป่วยวัยอื่น ๆ เช่น ระบาดวิทยาของโรค ลักษณะทางคลินิก และการวินิจฉัยโรค ดังนั้นการดูแลรักษาจึงต่างจากผู้ป่วยวัยอื่นอย่างชัดเจน โดยเฉพาะผู้ป่วยสูงอายุที่ยิ่งมีอายุมาก การดูแลรักษาย่อมมีความซับซ้อนยิ่งขึ้น โดยเฉพาะผู้สูงอายุที่มีภาวะสมอง เสื่อม หรือ ภาวะพลัดตกหกล้ม ด้านสุขภาพช่องปาก ด้านภาวะโภชนาการ ด้านสุขภาพจิต ด้านสิ่งแวดล้อม สมควรได้รับการดูแลรักษาที่เป็นเฉพาะทางด้านเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ และได้รับการ ส่งต่อ เพื่อรับการดูแลรักษา อย่างต่อเนื่องทำให้ผู้สูงอายุมีโอกาสในการเข้าถึงบริการสุขภาพที่มีคุณภาพและเหมาะสม
ในพื้นที่ตำบลทุ่งลานมีประชากร ผู้สูงอายุ ร้อยละ 23 ของจำนวนประชากรทั้งตำบลถือเป็นสังคมผู้สูงอายุก่อนจัดทําแผนการส่งเสริมสุขภาพดี ชะลอชรา ชีวายืนยาว หรือ Wellness Plan ผู้สูงอายุจําเป็นต้อง ทําความเข้าใจเกี่ยวกับขั้นตอนของ Wellness Plan มีความรู้ความ เข้าใจด้านการส่งเสริมสุขภาพ ดูแลสุขภาพตนเอง ตามแนวทาง 6 องค์ประกอบ ดังนี้ ด้านการเคลื่อนไหวของผู้สูงอายุด้านโภชนาการสําหรับผู้สูงอายุ ด้านการดูแลสมอง“ผู้สูงอายุสมองดี”สุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ ความสุขของผู้สูงอายุสิ่งแวดล้อมที่ปลอดภัยสําหรับผู้สูงอายุจากข้อมูลเบื้องต้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งลาน ซึ่งมีหน้าที่รับผิดชอบหลักในการดูแลสุขภาพของประชาชนในพื้นที่ให้ได้รับการดูแลด้านสุขภาพเพื่อป้องกันและส่งเสริมคุณภาพชีวิตที่ดี จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ สุขภาพดีชลอชรา ชีวายืนยาวขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ
  2. เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีการ สามารถจัดทำแผนส่งเสริมสุขภาพดี (Wellness Plan) และปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง สม่ำเสมอ เพื่อการมีสุขภาพดี
  3. เพื่อให้ผู้สูงอายุได้ทำกิจกรรมได้ร่วมพูดคุยและมีกำลังใจ สร้างความรัก ความสามัคคี ความสัมพันธ์ที่มีระหว่าง ผู้สูงอายุกับคนทุกวัยให้อยู่ร่วมกันมในสังคมได้อย่างมั่นคงและมีความสุข

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมการ ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ สุขภาพดีชลอ ชรา ชีวายืนยาว

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
สมาชิกชมรมผู้สูงอายุ 50

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้สูงอายุสามารถดำเนินการประเมินภาวะสุขภาพด้วยตนเองได้ และสามารถจัดทำแผนส่งเสริมสุขภาพดี (Wellness Plan) และปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง สม่ำเสมอ เพื่อการมีสุขภาพดี
  2. ชมรมส่งเสริมผู้สูงอายุ สามารถผ่านเกณฑ์ชมรมผู้สูงอายุคุณภาพ
  3. ผู้สูงอายุได้มีส่วนร่วมในกิจกรรม แลกเปลี่ยนเรียนรู้และบอกต่อแก่เพื่อนสมาชิกชมรม/กลุ่มทางสังคมของผู้สูงอายุในชุมชน หรือผู้ที่สนใจต่อไปได้

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุมีความรู้ในการดูแลสุขภาพอย่างเหมาะสมร้อยละ80
1.00

 

2 เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีการ สามารถจัดทำแผนส่งเสริมสุขภาพดี (Wellness Plan) และปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง สม่ำเสมอ เพื่อการมีสุขภาพดี
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุมีการปฎิบัติตัวตามแผนการส่งเสริมสุขภาพ ร้อยละ80
50.00

 

3 เพื่อให้ผู้สูงอายุได้ทำกิจกรรมได้ร่วมพูดคุยและมีกำลังใจ สร้างความรัก ความสามัคคี ความสัมพันธ์ที่มีระหว่าง ผู้สูงอายุกับคนทุกวัยให้อยู่ร่วมกันมในสังคมได้อย่างมั่นคงและมีความสุข
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุมีการเข้าร่วมกิจกรรมและสามารถถ่ายทอดความรู้แลกเปลี่ยนประสบการณ์ให้กับสมาชิกและผู้อื่นได้เดือนละ 1 ครั้ง
50.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 0
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
สมาชิกชมรมผู้สูงอายุ 50

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ (2) เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีการ สามารถจัดทำแผนส่งเสริมสุขภาพดี (Wellness Plan) และปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง สม่ำเสมอ เพื่อการมีสุขภาพดี (3) เพื่อให้ผู้สูงอายุได้ทำกิจกรรมได้ร่วมพูดคุยและมีกำลังใจ สร้างความรัก ความสามัคคี ความสัมพันธ์ที่มีระหว่าง ผู้สูงอายุกับคนทุกวัยให้อยู่ร่วมกันมในสังคมได้อย่างมั่นคงและมีความสุข

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมการ ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ สุขภาพดีชลอ ชรา ชีวายืนยาว

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ สุขภาพดีชลอชรา ชีวายืนยาว จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ L5169-67-1-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวจุรีรัตน์ จันทคาร ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งลาน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด