กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลาโละ


“ โครงการชุมชนต้นแบบ หนูน้อยฟันดี ปี 2560 ”

ตำบลลาโละ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางสาวมารียัมมะเกะ

ชื่อโครงการ โครงการชุมชนต้นแบบ หนูน้อยฟันดี ปี 2560

ที่อยู่ ตำบลลาโละ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 60-L/2514-1-03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการชุมชนต้นแบบ หนูน้อยฟันดี ปี 2560 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลลาโละ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลาโละ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการชุมชนต้นแบบ หนูน้อยฟันดี ปี 2560



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการชุมชนต้นแบบ หนูน้อยฟันดี ปี 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลลาโละ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 60-L/2514-1-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 13,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลาโละ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ฟันน้ำนมเป็นฟันชุดแรกของมนุษย์ โดยฟันหน้าล่างจะขึ้นมาเป็นซี่แรกเมื่อมีอายุประมาณ ๖ – ๙ เดือน ตามพัฒนาการฟันน้ำนมจะขึ้นครบ ๒๐ ซี่ เมื่อมีอายุครบ ๒ ปีโดยส่วนใหญ่ผู้ปกครองจะไม่ค่อยเห็นความสำคัญและให้การดูแลรักษาฟันน้ำนมเท่าทีควร เพราะคิดว่าฟันแท้สามารถขึ้นมาแทนที่ได้และไม่จำเป็นต้องดูแลรักษาฟันน้ำนม ความจริงแล้วฟันแท้จะดีได้ขึ้นอยู่กับฟันน้ำนม เพราะฟันน้ำนมไม่ใช่แค่ช่วยให้รอยยิ้มที่สวยงาม แต่ยังช่วยเป็นแนวในการขึ้นของฟันแท้ ส่งผลต่อการเจริญเติบโตของเด็ก รวมถึงปัญหาการเจ็บป่วยด้วยโรคบางโรค โรคฟันผุในฟันน้ำนมยังเป็นปัญหาที่พบมากในประเทศไทย โดยเฉพาะในจังหวัดชายแดนใต้ เด็กอายุ ๓ ปี ที่มีฟันครบ ๒๐ ซี่พบฟันผุถึงร้อยละ ๖๑และเมื่ออายุครบ ๕ ปีพบฟันผุถึงร้อยละ ๘๐ การรักษาฟันผุในเด็กทำได้ยาก เนื่องจากเด็กมักจะไม่ค่อยให้ความร่วมมือในการรักษา ดังนั้นการป้องกันเป็นวิธีที่ดีที่สุด โดยควรดำเนินการเริ่มที่หญิงตั้งครรภ์จนเด็กเกิดไปถึงเด็กเข้าเรียนในโรงเรียนและสามารถแปรงฟันด้วยตังเองจนสะอาด แต่ด้วยสภาพสังคมและวัฒนธรรมในปัจจุบันการให้ความสำคัญ และการดูแลฟันลูกในพื้นที่ของจังหวัดชายแดนใต้ยังถือว่าเป็นเรื่องที่ยากและทุกภาคส่วนต้องให้ความสำคัญ เพราะไม่ใช่แค่สุขภาพช่องปากที่จะเกิดปัญหา แต่ยังส่งผลกระทบต่อเด็กในหลายด้าน และมีการวิจัยว่าโรคฟันผุมีผลต่อการเจริญเติบโต พัฒนาการและการเรียนรู้ของเด็ก ซึ่งแสดงให้เห็นถึงปัญหาที่ควรแก้ไขตั้งแต่แรกเริ่ม จากข้อมูลการสำรวจสถานการณ์โรคฟันผุในเด็กอายุ ๓ ปีในเขตตำบลลาโละ อำเภอรือเสาะ พ.ศ.๒๕๕๘จำนวน ๗๓ คนพบเด็กที่มีฟันผุ ๕๙ คนคิดเป็นอัตราความชุกโรคฟันผุสูงถึง ร้อยละ ๘๐.๘๒ค่าเฉลี่ยโรคฟันผุคิดเป็นร้อยละ ๑๓.๒๓ ซี่/คน จากข้อมูลดังกล่าวแสดงให้เห็นว่าปัญหาสุขภาพช่องปากอยู่ในขั้นรุนแรงควรแก้ไขอย่างเร่งด่วน หากปล่อยไว้และไม่ได้รับการแก้ไขที่ถูกต้องและต่อเนื่อง อาจเป็นปัญหาสุขภาพช่องปากของเด็กในระยะยาวส่งผลต่อคุณภาพชีวิตเด็กได้ในอนาคต
ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลาโละ ได้เห็นถึงปัญหา และความสำคัญของการดูแลรักษาสุขภาพช่องปากในเด็กจึงได้จัดทำ โครงการชุมชนต้นแบบ หนูน้อยฟันดี ปี ๒๕๖๐ เพื่อดูแลตั้งแต่สุขภาพช่องปากเด็กตั้งแต่แรกเกิด จนถึงเด็กวัยก่อนเรียน กระตุ้นให้ผู้ปกครอง ผู้เลี้ยงดูเด็กได้ให้ความสำคัญ และให้ชุมชนได้มีส่วนร่วมในการเพิ่มประสิทธิภาพการดูแลสุขภาพช่องปากของลูกและเด็กในชุมชน เน้นการป้องกันก่อนการรักษา และเกิดประสิทธิผลในการดูแลสุขภาพช่องปากในระยะยาว

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้เด็กของเด็กอายุ ๐ – ๖๐ เดือนได้รับการทาฟลูออไรด์วานิช
  2. เพื่อให้ผู้ปกครองผู้เลี้ยงดูเด็กอายุ ๐ – ๖๐เดือน ได้รับการฝึกแปรงฟันให้เด็ก
  3. เพื่อเพิ่มคุณภาพของการดูแลสุขภาพช่องปากของผู้ปกครอง ผู้เลี้ยงดูเด็ก
  4. เกิดการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายสาธารณสุข
  5. สร้างกระแสงานทันตสาธารณสุขในชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 90
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 40
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ๑.เด็กของเด็กอายุ ๐ – ๖๐ เดือนได้รับการทาฟลูออไรด์วานิชอย่างมีคุณภาพ๒.ผู้ปกครองเด็กอายุ ๐ – ๖๐ เดือนได้รับการฝึกแปรงฟันให้เด็กที่ถูกวิธีและสามารถถ่ายทอดความรู้สู่คนในชุมชน ๓.ผู้ปกครอง ผู้ดูแลเด็ก อสม.และผู้ที่เกี่ยวข้องได้รับการพัฒนาศักยภาพในการส่งเสริม ป้องกันและดูแล ทันตสุขภาพเด็กและของตัวเองได้๔.ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็ก


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. กิจกรรมย่อย อบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม.ในเขต ในการดูแลและเฝ้าระวังปัญหาสุขภาพช่องปากแก่เด็ก 0-5 ปี ในชุมชน

    วันที่ 9 สิงหาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.เด็กของเด็กอายุ 0-ุ60 เดือนได้รบการทาฟลูออไรด์วานิชอย่างมีคุณภาพ ร้อยละ 82.64 2.ผู้ปกครองเด็กอายุ 0-ุ60 เดือนได้รับการฝึกแปรงฟันให้เด็กที่ถูกวิธีและสามารถถ่ายทอดความรู้สู่คนในชุมชน 3.ผู้ปกครอง ผู้ดูแลเด็ก อสม.และผู้ที่เกี่ยวข้องได้รับการพัฒนาศักยภาพในการส่งเสริม ป้องกันและดูแล ทันตสุขภาพเด็กและตัวเองได้ 4.ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพช่องปากเด็ก

     

    40 40

    2. -มหกรรมการแปรงฟันเคลื่อนที่ในชุมชน ทั้ง 4หมู่บ้าน -ค้นหา”ซุปตาร์ฟันน้ำนม”ในชุมชน พร้อมมอบประกาศนียบัตร

    วันที่ 28 สิงหาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.เด็กของเด็กอายุ 0-ุ60 เดือนได้รบการทาฟลูออไรด์วานิชอย่างมีคุณภาพ ร้อยละ 82.64 2.ผู้ปกครองเด็กอายุ 0-ุ60 เดือนได้รับการฝึกแปรงฟันให้เด็กที่ถูกวิธีและสามารถถ่ายทอดความรู้สู่คนในชุมชน 3.ผู้ปกครอง ผู้ดูแลเด็ก อสม.และผู้ที่เกี่ยวข้องได้รับการพัฒนาศักยภาพในการส่งเสริม ป้องกันและดูแล ทันตสุขภาพเด็กและตัวเองได้ 4.ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพช่องปากเด็ก

     

    90 90

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    เด็กเด็กอายุ 0-ุ60 เดือน ผู้ปกครอง และผู้ดูแล ในชุมชน ตลอดจน อสม.ในพื้นที่ เข้าร่วมโครงการจำนวน 130 ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก  ทาฟลูออไรด์วานิช และผู้ดูแลเด็กได้รับการฝึกทักษะการดูแลสุขภาพช่องปากให้ลูก อสม.ในพื้นที่มีความรู้และสามารถถ่ายทอดความรู้และฝึกการแปรงฟันแกผู้ปกครองเด็กในเขตพื้นที่รับผิดชอบได้ รวมถึงชุมชนให้ความสำคัญและเล็งเห็นปัญหาโรคฟันผุของเด็กในชุมชน เกิดการมีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาร่วมกันในชุมชน

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้เด็กของเด็กอายุ ๐ – ๖๐ เดือนได้รับการทาฟลูออไรด์วานิช
    ตัวชี้วัด : เด็กของเด็กอายุ๐ – ๖๐ เดือนได้รับการทาฟลูออไรด์วานิช ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐

     

    2 เพื่อให้ผู้ปกครองผู้เลี้ยงดูเด็กอายุ ๐ – ๖๐เดือน ได้รับการฝึกแปรงฟันให้เด็ก
    ตัวชี้วัด : ผู้ปกครองผู้เลี้ยงดูเด็กอายุ ๐ – ๖๐ เดือน ได้รับการฝึกแปรงฟันให้เด็กไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐

     

    3 เพื่อเพิ่มคุณภาพของการดูแลสุขภาพช่องปากของผู้ปกครอง ผู้เลี้ยงดูเด็ก
    ตัวชี้วัด : ผู้ปกครอง ผู้เลี้ยงดูเด็ก สามารถดูแลสุขภาพช่องปากของเด็กได้ดี

     

    4 เกิดการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายสาธารณสุข
    ตัวชี้วัด : มีภาคีเครือข่ายสนับสนุนในการดำเนินโครงการ

     

    5 สร้างกระแสงานทันตสาธารณสุขในชุมชน
    ตัวชี้วัด : มีชุมชนต้นแบบในการดำเนินงานทันตสาธารณสุข

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 130
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 90
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 40
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เด็กของเด็กอายุ ๐ – ๖๐ เดือนได้รับการทาฟลูออไรด์วานิช (2) เพื่อให้ผู้ปกครองผู้เลี้ยงดูเด็กอายุ ๐ – ๖๐เดือน ได้รับการฝึกแปรงฟันให้เด็ก (3) เพื่อเพิ่มคุณภาพของการดูแลสุขภาพช่องปากของผู้ปกครอง ผู้เลี้ยงดูเด็ก (4) เกิดการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายสาธารณสุข (5) สร้างกระแสงานทันตสาธารณสุขในชุมชน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการชุมชนต้นแบบ หนูน้อยฟันดี ปี 2560 จังหวัด นราธิวาส

    รหัสโครงการ 60-L/2514-1-03

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวมารียัมมะเกะ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด