กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการส่งเสริมความรู้และคัดกรองโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูงในชุมชน ปี 2568 ”




หัวหน้าโครงการ
นางพรทิพย์ หนูอินทร์




ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมความรู้และคัดกรองโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูงในชุมชน ปี 2568

ที่อยู่ จังหวัด

รหัสโครงการ 2568-L7572-01-001 เลขที่ข้อตกลง 2/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2567 ถึง 30 เมษายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมความรู้และคัดกรองโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูงในชุมชน ปี 2568 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองพัทลุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมความรู้และคัดกรองโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูงในชุมชน ปี 2568



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ส่งเสริมความรู้เรื่องโรคเบาหวาน /ความดันโลหิตสูงและคัดกรองประเมินความเสี่ยงด้านสุขภาพแก่กลุ่มเป้าหมายพร้อมทั้งสร้างกระแสให้เกิดความตระหนักถึงความสำคัญของการรับบริการคัดกรองและรับรู้วิธีลดความเสี่ยงของการเกิดโรคเรื้อรัง ให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงต่อโรค Metabolic ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมและกลุ่มเสี่ยงที่สงสัยเป็นโรคได้รับการส่งต่อและรักษาตามแผนการดูแล ผลการดำเนินงานที่สำคัญ
1.กิจกรรมเตรียมงานก่อนดำเนินการ
-ประชุมชีี้แจงการดำเนินงานโครงการแก่ อสม. แกนนำชุมชน เจ้าหน้าที่ประจำชุมชน ทั้ง 45 ชุมชน พร้อมจัดทำแผนการออกคัดกรองรายชุมชน -จัดสำรวจ/จัดทำทะเบียนกลุ่มเป้าหมายที่ต้องคัดกรอง เตรียมเอกสารการคัดกรอง จัดซื้อจัดจ้างเวชภัณฑ์ทางการแพทย์ -ประชาสัมพันธ์แผนงาน/โครงการ งบประมาณ *ค่าถ่ายเอกสาร แบบฟอร์มคัดกรอง จำนวน 6,870 ชุด *แถบตรวจน้ำตาลในเลือด 9,870 แถบ

2.กิจกรรม ตรวจคัดกรอง -ตรวจคัดกรองกลุ่มเป้าหมายในแต่ละชุมชนโดยซักประวัติพฤติกรรมสุขภาพ ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง รอบเอว ดัชนีมวลกาย วัดความดันโลหิต วัดระดับน้ำตาลในเลือด แปลผลการคัดกรอง -ให้ความรู้เรื่องโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงแก่กลุ่มเป้าหมาย -คัดกรองตามแนวทางการประเมินความเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด -จัดทำทะเบียนกลุ่มเสี่ยงเบาหวานและกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง -ติดตามกลุ่มเสี่ยงเบาหวานและกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูงโดยเจ้าหน้่าที่และ อสม.เพื่อเข้ารับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมพร้อมให้คำแนะนำผู้ที่มีความเสี่ยง -ส่งต่อในรายที่มีผลการตรวจคัดกรองผิดปกติ ติดตามผลการรักษาภายหลังการส่งต่อ -บันทึกผลการคัดกรองในโปรแกรม JHCIS

3.ประเมินผลสรุปและประเมินโครงการ -ผลการดำเนินงานคัดกรองเบาหวาน กลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองร้อยละ 92.95 พบเป็นกลุ่มปกติ ร้อยละ 86.13 กลุ่มเสี่ยง ร้อยละ 12.21 กลุ่มสงสัยป่วยร้อยละ 1.58 กลุ่มสงสัยป่วยได้รับการติดตามตรวจซ้ำและ วินิจฉัยเป็นโรคเบาหวานรายใหม่ ร้อยละ 0.27 กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วยเป็นโรคเบาหวานได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ร้อยละ 61.37 กลุ่มเสี่ยงที่สงสัยเป็นโรคเบาหวานได้รับการติดตามรักษา ร้อยละ 95.8 -ผลการดำเนินงานคัดกรองความดันโลหิตสูง กลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองร้อยละ 91.66 พบเป็นกลุ่มปกติ ร้อยละ 67.06 กลุ่มเสี่ยง ร้อยละ 26.91 กลุ่มสงสัยป่วยร้อยละ 5.85 กลุ่มสงสัยป่วยได้รับการติดตามตรวจซ้ำและวินิจฉัยเป็นโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ ร้อยละ 0.73 กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูง ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ร้อยละ 63.35 กลุ่มเสี่ยงที่สงสัยเป็นโรคความดันโลหิตสูง ร้อยละ 91.37

ข้อเสนอแนะ
1.กลุ่มเป้าหมายอยู่ในบริบทเป็นพื้นที่ชุมชนเมืองการให้ความร่วมมือน้อย ไม่ค่อยตระหนักในเรื่องของการดูแลสุขภาพขั้นพื้นฐาน ติดภารกิจมาตามนัดน้อยต้องใช้การลงพื้นที่ติดตามคัดกรองที่บ้านทำให้ต้องใช้เวลานาน จึงต้องทำความเข้าใจให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมายให้มีความตระหนักในการดูแลสุขภาพของตนเองประสานความร่วมมือกับเครือข่ายสุขภาพและภาคประชาชนเรื่องการบริการและการประชาสัมพันธ์ให้หลากหลายช่องทาง

2.กลุ่มเสี่ยงที่นัดตรวจติดตามซ้ำ ติดตามยาก และไม่ค่อยให้ความร่วมมือในการรักษา และการเข้ากลุ่มเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ จึงต้องสร้างความตระหนักและเพิ่มช่องทางการติดตาม โดยผ่าน อสม.หรือเจ้าหน้าที่โทรประสานงานเองโดยตรง เพื่อให้กลุ่มเสี่่ยงเห็นความสำคัญของกิจกรรมการคัดกรอง

3.อสม.ขาดทักษะและความชำนาญในการเจาะเลือดปลายนิ้ว บางรายไม่สามารถเจาะเลือดได้ บางรายไม่ให้ความร่วมมือในการคัดกรอง ไม่มีเวลา ไม่สามารถปฏิบัติงานได้ จึงควรจัดอบรมให้ความรู้แก่ อสม. ในเรื่องของการคัดกรอง ทำความเข้าใจและสร้างความมั่นใจในการปฏิบัติงานโดยเจ้าหน้าที่อธิบายเกี่ยวกับการสัมภาษณ์ตามใบคัดกรอง ฝึกอบรมเรื่องการวัดความดันโลหิต การเจาะเลือดปลายนิ้ว(1)

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูงเป็นโรคติดต่อเรื้อรังที่่เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ และถือว่าเป็น "ภัยเงียบ" เพราะเป็นโรคที่ไม่ปรากฏอาการ และเป็นสาเหตุของโรคแทรกซ้อนในอวัยวะสำคัญหลายระบบของร่างกายเช่น ตา ไตหลอดเลือด ในประเทศไทยนั้น อุบัติการณ์โรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง ในแต่ละปีเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ในกลุ่มประชากรทุกเพศทุกวัยและประชากรที่เป็นโรคพบว่ามีอายุลดน้อยลงเรื่อยๆ ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจของประเทศไทยเป็นอย่างมาก เนื่องจากโรคเรื้อรังเป็นโรคที่จำเป็นต้องรักษาอย่างต่อเนื่องและยาวนาน มีค่าใช้จ่ายด้านการรักษาสูงมาก
จากการจัดลำดับความสำคัญปัญหาสาธารณสุขในพื้นที่รับผิดชอบของศูนย์แพทย์ชุมชนทั้ง 3 ศูนย์ พบว่า โรคความดันโลหิตสูงเป็นปัญหาอันดับ 1 และโรคเบาหวานเป็นปัญหาอันดับ 2 จากสถิติการคัดกรองโรคเบาหวานและโรค ความดันโลหิตสูง ปี 2565-2567 พบว่า ประชากรกลุ่มเป้าหมาย ได้รับการคัดกรองโรคเบาหวานร้อยละ 92.84,91.32 และ 92.18 ตามลำดับ พบเป็นกลุ่มเสี่ยง/สงสัยเป็นโรคเบาหวาน ร้อยละ 32.47,19.67 และ 16.09 ตามลำดับ และได้รับการ คัดกรองโรคความดันโลหิตสูงร้อยละ 78.54,88.87 และ 84.09ตามลำดับ พบเป็นกลุ่มเสี่ยง/สงสัยเป็นโรคความดันโลหิตสูง ร้อยละ 33.64,31.31 และ 26.25 ตามลำดับ ซึ่งมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้น จากปัญหาดังกล่าว งานเวชปฏิบัติครอบครัวและชุมชน กลุ่มงานเวชกรรมสังคม โรงพยาบาลพัทลุง จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมความรู้และคัดกรองโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูงในชุมชน ปี 2568 ขึ้น เพื่อให้ประชาชนกลุ่มอายุตั้งแต่ 15 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงตามมาตรฐาน พร้อมทั้งรณรงค์ สร้างความตระหนักในการดูแลสุขภาพมีพฤติกรรมที่ดี และได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคเรื้อรังในอนาคตต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. วัตถุประสงค์ ข้อที่ 1 เพื่อส่งเสริมความรู้เรื่องโรคเบาหวาน /ความดันโลหิตสูงและคัดกรองประเมินความเสี่ยงด้านสุขภาพแก่กลุ่มเป้าหมายพร้อมทั้งสร้างกระแสให้เกิดความตระหนักถึงความสำคัญของการรับบริการคัดกรองและรับรู้วิธีลดความเสี่ยงของการเกิดโรคเรื้อรัง
  2. ข้อที่ 2 เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงต่อโรค Metabolic ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม
  3. ข้อ 3 กลุ่มเสี่ยงที่สงสัยเป็นโรคได้รับการส่งต่อและรักษาตามแผนการดูแล

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. กิจกรรม เตรียมงานก่อนดำเนินการ
  2. 2. กิจกรรม ตรวจคัดกรอง
  3. 3.ประเมินผลสรุปและประเมินโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 4,780
กลุ่มผู้สูงอายุ 5,090
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. กลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองและประเมินความเสี่ยงด้านสุขภาพพร้อมทั้งรับรู้สถานะสุขภาพของตนเอง
  2. ลดอัตราการเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงรายใหม่และลดภาวะโรคแทรกซ้อนต่างๆ
  3. จำแนกกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการคัดกรองตามแนวทางการประเมินความเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด
  4. กลุ่มเสี่ยงได้รับการติดตามดูแลและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรม เตรียมงานก่อนดำเนินการ

วันที่ 1 ตุลาคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.ประชุมชี้แจงการดำเนินงานโครงการแก่ อสม. แกนนำชุมชน เจ้าหน้าที่ประจำชุมชน จัดทำแผนการออกคัดกรองรายชุมชน 2.จัดสำรวจ/จัดทำทะเบียนกลุ่มเป้าหมาย เตรียมเอกสารการคัดกรอง เวชภัณฑ์ทางการแพทย์ 3.ประชาสัมพันธ์แผนงาน/โครงการ งบประมาณ -ค่าถ่ายเอกสาร -แถบตรวจน้ำตาลในเลือด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ประชุมชี้แจงการดำเนินงานโครงการแก่ อสม. แกนนำชุมชน เจ้าหน้าที่ประจำชุมชน ทั้ง 45 ชุมชน พร้อมจัดทำแผนการออกคัดกรองรายชุมชน 2.จัดสำรวจ/จัดทำทะเบียนกลุ่มเป้าหมายที่ต้องคัดกรอง เตรียมเอกสารการคัดกรอง จัดซื้อจัดจ้างเวชภัณฑ์ทางการแพทย์ 3.ประชาสัมพันธ์แผนงาน/โครงการ งบประมาณ -ค่าถ่ายเอกสาร แบบฟอร์มคัดกรองอายุ 35-59 ปี จำนวน 1,780 ชุด  แบบฟอร์มคัดกรองอายุ 60 ปีขึ้นไป จำนวน 5,090 ชุด -แถบตรวจน้ำตาลในเลือด 9,870 แถบ (99 กล่อง*434 บาท)

 

0 0

2. กิจกรรม ตรวจคัดกรอง

วันที่ 1 ตุลาคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

-ตรวจคัดกรองกลุ่มเป้าหมายในแต่ละชุมชนโดยซักประวัติพฤติกรรมสุขภาพ ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง รอบเอว ดัชนีมวลกาย วัดความดันโลหิต วัดระดับน้ำตาลในเลือด แปลผลการคัดกรอง -ให้ความรู้เรื่องโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงแก่กลุ่มเป้าหมาย -คัดกรองตามแนวทางการประเมินความเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด -จัดทำทะเบียนกลุ่มเสี่ยงเบาหวานและกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง -ติดตามกลุ่มเสี่ยงเบาหวานและกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูงโดยเจ้าหน้่าที่และ อสม.เพื่อเข้ารับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมพร้อมให้คำแนะนำผู้ที่มีความเสี่ยง -ส่งต่อในรายที่มีผลการตรวจคัดกรองผิดปกติ ติดตามผลการรักษาภายหลังการส่งต่อ -บันทึกผลการคัดกรองในโปรแกรม JHCIS

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-ผลการดำเนินงานคัดกรองเบาหวาน  กลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองร้อยละ 92.95 -ผลการดำเนินงานคัดกรองความดันโลหิตสูง กลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองร้อยละ 91.66

 

0 0

3. ประเมินผลสรุปและประเมินโครงการ

วันที่ 1 เมษายน 2568 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-ผลการดำเนินงานคัดกรองเบาหวาน  กลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองร้อยละ 92.95 พบเป็นกลุ่มปกติ ร้อยละ 86.13 กลุ่มเสี่ยง ร้อยละ 12.21 กลุ่มสงสัยป่วยร้อยละ 1.58 กลุ่มสงสัยป่วยได้รับการติดตามตรวจซ้ำและ วินิจฉัยเป็นโรคเบาหวานรายใหม่ ร้อยละ 0.27 -ผลการดำเนินงานคัดกรองความดันโลหิตสูง กลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองร้อยละ 91.66 พบเป็นกลุ่มปกติ ร้อยละ 67.06 กลุ่มเสี่ยง ร้อยละ 26.91 กลุ่มสงสัยป่วยร้อยละ 5.85 กลุ่มสงสัยป่วยได้รับการติดตามตรวจซ้ำและวินิจฉัยเป็นโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ ร้อยละ 0.73
-กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วยเป็นโรคเบาหวานได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ร้อยละ 61.37  โรคความดันโลหิตสูง ร้อยละ 63.35 -กลุ่มเสี่ยงที่สงสัยเป็นโรคเบาหวานได้รับการติดตามรักษา ร้อยละ 95.8 โรคความดันโลหิตสูง ร้อยละ 91.37

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 วัตถุประสงค์ ข้อที่ 1 เพื่อส่งเสริมความรู้เรื่องโรคเบาหวาน /ความดันโลหิตสูงและคัดกรองประเมินความเสี่ยงด้านสุขภาพแก่กลุ่มเป้าหมายพร้อมทั้งสร้างกระแสให้เกิดความตระหนักถึงความสำคัญของการรับบริการคัดกรองและรับรู้วิธีลดความเสี่ยงของการเกิดโรคเรื้อรัง
ตัวชี้วัด : ประชาชนกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง อย่างน้อยร้อยละ 90
90.00 92.21

คัดกรองเบาหวาน ร้อยละ 92.21
คัดกรองความดันโลหิตสูง ร้อยละ 91.59

2 ข้อที่ 2 เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงต่อโรค Metabolic ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม
ตัวชี้วัด : ประชาชนกลุ่มเสี่ยงเข้าสู่กระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างน้อยร้อยละ 60
60.00 63.35

ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโรคเบาหวาน ร้อยละ 61.37

ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโรคความดันโลหิตสูง ร้อยละ 63.35

3 ข้อ 3 กลุ่มเสี่ยงที่สงสัยเป็นโรคได้รับการส่งต่อและรักษาตามแผนการดูแล
ตัวชี้วัด : กลุ่มเสี่ยงที่สงสัยป่วยเป็นโรคได้รับการส่งต่อและรักษาร้อยละ 100
100.00 95.80

กลุ่มเสี่ยงที่สงสัยป่วยเป็นโรคเบาหวานได้รับการส่งต่อและรักษา ร้อยละ 95.80

กลุ่มเสี่ยงที่สงสัยป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูงได้รับการส่งต่อและรักษา ร้อยละ 91.37

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 9870 9071
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 0
กลุ่มวัยทำงาน 4,780 4,393
กลุ่มผู้สูงอายุ 5,090 4,678
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ส่งเสริมความรู้เรื่องโรคเบาหวาน /ความดันโลหิตสูงและคัดกรองประเมินความเสี่ยงด้านสุขภาพแก่กลุ่มเป้าหมายพร้อมทั้งสร้างกระแสให้เกิดความตระหนักถึงความสำคัญของการรับบริการคัดกรองและรับรู้วิธีลดความเสี่ยงของการเกิดโรคเรื้อรัง ให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงต่อโรค Metabolic ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมและกลุ่มเสี่ยงที่สงสัยเป็นโรคได้รับการส่งต่อและรักษาตามแผนการดูแล ผลการดำเนินงานที่สำคัญ
1.กิจกรรมเตรียมงานก่อนดำเนินการ
-ประชุมชีี้แจงการดำเนินงานโครงการแก่ อสม. แกนนำชุมชน เจ้าหน้าที่ประจำชุมชน ทั้ง 45 ชุมชน พร้อมจัดทำแผนการออกคัดกรองรายชุมชน -จัดสำรวจ/จัดทำทะเบียนกลุ่มเป้าหมายที่ต้องคัดกรอง เตรียมเอกสารการคัดกรอง จัดซื้อจัดจ้างเวชภัณฑ์ทางการแพทย์ -ประชาสัมพันธ์แผนงาน/โครงการ งบประมาณ *ค่าถ่ายเอกสาร แบบฟอร์มคัดกรอง จำนวน 6,870 ชุด *แถบตรวจน้ำตาลในเลือด 9,870 แถบ

2.กิจกรรม ตรวจคัดกรอง -ตรวจคัดกรองกลุ่มเป้าหมายในแต่ละชุมชนโดยซักประวัติพฤติกรรมสุขภาพ ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง รอบเอว ดัชนีมวลกาย วัดความดันโลหิต วัดระดับน้ำตาลในเลือด แปลผลการคัดกรอง -ให้ความรู้เรื่องโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงแก่กลุ่มเป้าหมาย -คัดกรองตามแนวทางการประเมินความเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด -จัดทำทะเบียนกลุ่มเสี่ยงเบาหวานและกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง -ติดตามกลุ่มเสี่ยงเบาหวานและกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูงโดยเจ้าหน้่าที่และ อสม.เพื่อเข้ารับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมพร้อมให้คำแนะนำผู้ที่มีความเสี่ยง -ส่งต่อในรายที่มีผลการตรวจคัดกรองผิดปกติ ติดตามผลการรักษาภายหลังการส่งต่อ -บันทึกผลการคัดกรองในโปรแกรม JHCIS

3.ประเมินผลสรุปและประเมินโครงการ -ผลการดำเนินงานคัดกรองเบาหวาน กลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองร้อยละ 92.95 พบเป็นกลุ่มปกติ ร้อยละ 86.13 กลุ่มเสี่ยง ร้อยละ 12.21 กลุ่มสงสัยป่วยร้อยละ 1.58 กลุ่มสงสัยป่วยได้รับการติดตามตรวจซ้ำและ วินิจฉัยเป็นโรคเบาหวานรายใหม่ ร้อยละ 0.27 กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วยเป็นโรคเบาหวานได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ร้อยละ 61.37 กลุ่มเสี่ยงที่สงสัยเป็นโรคเบาหวานได้รับการติดตามรักษา ร้อยละ 95.8 -ผลการดำเนินงานคัดกรองความดันโลหิตสูง กลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองร้อยละ 91.66 พบเป็นกลุ่มปกติ ร้อยละ 67.06 กลุ่มเสี่ยง ร้อยละ 26.91 กลุ่มสงสัยป่วยร้อยละ 5.85 กลุ่มสงสัยป่วยได้รับการติดตามตรวจซ้ำและวินิจฉัยเป็นโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ ร้อยละ 0.73 กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูง ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ร้อยละ 63.35 กลุ่มเสี่ยงที่สงสัยเป็นโรคความดันโลหิตสูง ร้อยละ 91.37

ข้อเสนอแนะ
1.กลุ่มเป้าหมายอยู่ในบริบทเป็นพื้นที่ชุมชนเมืองการให้ความร่วมมือน้อย ไม่ค่อยตระหนักในเรื่องของการดูแลสุขภาพขั้นพื้นฐาน ติดภารกิจมาตามนัดน้อยต้องใช้การลงพื้นที่ติดตามคัดกรองที่บ้านทำให้ต้องใช้เวลานาน จึงต้องทำความเข้าใจให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมายให้มีความตระหนักในการดูแลสุขภาพของตนเองประสานความร่วมมือกับเครือข่ายสุขภาพและภาคประชาชนเรื่องการบริการและการประชาสัมพันธ์ให้หลากหลายช่องทาง

2.กลุ่มเสี่ยงที่นัดตรวจติดตามซ้ำ ติดตามยาก และไม่ค่อยให้ความร่วมมือในการรักษา และการเข้ากลุ่มเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ จึงต้องสร้างความตระหนักและเพิ่มช่องทางการติดตาม โดยผ่าน อสม.หรือเจ้าหน้าที่โทรประสานงานเองโดยตรง เพื่อให้กลุ่มเสี่่ยงเห็นความสำคัญของกิจกรรมการคัดกรอง

3.อสม.ขาดทักษะและความชำนาญในการเจาะเลือดปลายนิ้ว บางรายไม่สามารถเจาะเลือดได้ บางรายไม่ให้ความร่วมมือในการคัดกรอง ไม่มีเวลา ไม่สามารถปฏิบัติงานได้ จึงควรจัดอบรมให้ความรู้แก่ อสม. ในเรื่องของการคัดกรอง ทำความเข้าใจและสร้างความมั่นใจในการปฏิบัติงานโดยเจ้าหน้าที่อธิบายเกี่ยวกับการสัมภาษณ์ตามใบคัดกรอง ฝึกอบรมเรื่องการวัดความดันโลหิต การเจาะเลือดปลายนิ้ว(1)

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมความรู้และคัดกรองโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูงในชุมชน ปี 2568

รหัสโครงการ 2568-L7572-01-001 รหัสสัญญา 2/2568 ระยะเวลาโครงการ 1 ตุลาคม 2567 - 30 เมษายน 2568

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการส่งเสริมความรู้และคัดกรองโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูงในชุมชน ปี 2568 จังหวัด

รหัสโครงการ 2568-L7572-01-001

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางพรทิพย์ หนูอินทร์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด