กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ประชากรกลุ่มสงสัยป่วย มีพฤติกรรมที่เหมาะสมในการป้องกันโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคอ้วน และลดภาวะเเทรกซ้อนได้
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายสามารถปรับพฤติกรรม ด้านอาหาร อารมณ์ และออกกำลังกายดีขึ้น มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ถูกต้อง มีค่าน้ำตาล ค่าความดัน BMI รอบเอวลดลง อย่างน้อยร้อยละ 30
150.00 45.00 0.00

 

2 เพื่อให้กลุ่มสงสัยป่วยได้รับการส่งต่อคลินิก Wellness Center (ศูนย์สุขภาพดีวัยทำงาน)
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายที่มีความเสี่ยงสูงได้รับการส่งต่อคลินิก Wellness Center อย่างน้อย ร้อยละ 90
30.00 27.00

 

3 เพื่อให้กลุ่มสงสัยป่วยเป็นโรคได้รับการส่งต่อและรักษาร้อยละ 100
ตัวชี้วัด : กลุ่มเสี่ยงที่สงสัยป่วยเป็นโรคได้รับการส่งต่อและรักษาร้อยละ 100
100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 150 150
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
กลุ่มสงสัยป่วยเบาหวานหรือความดันโลหิตสูง 150

บทคัดย่อ*

การมีสุขภาพที่ดี เป็นความปรารถนาของคนทุกคน เพราะการมีสุขภาพที่ดีเป็นปัจจัยสำคัญที่ก่อให้เกิดความสุข และส่งเสริมให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีได้ในที่สุด เพราะคำว่า สุขภาพ มีความหมาย คือ สภาวะแห่งความสมบูรณ์ทั้งทางด้านร่างกาย ด้านจิตใจ และการดำรงชีวิตอยู่ในสังคมด้วยดี ไม่ใช่เพียงแต่ความปราศจากโรค หรือทุพพลภาพเท่านั้น แสดงให้เห็นว่า ภาวะของความไม่มีโรคหรือไม่บกพร่องยังไม่ถือว่ามีสุขภาพ แต่สุขภาพมีความหมายเชิงบวกที่เน้นความเป็นอยู่ที่สมบูรณ์ทั้งทางร่างกาย จิตใจ และสังคม นั่นคือ ต้องมีสุขภาพกาย สุขภาพจิต และสุขภาพทางสังคมครบทุกด้าน ซึ่งการสร้างเสริมสุขภาพประกอบด้วยแนวทางหลายแนวทางด้วยกัน และที่ได้รับการยอมรับในแนวทางปฏิบัติตามหลักวิชาการคือ การมีสุขภาพที่ดี ตามหลัก 6 อ.สร้างสุขภาพคนไทย ซึ่งประกอบด้วย อ.ที่1 อาหาร อ.ที่2 ออกกำลังกาย อ.ที่3 อารมณ์ อ.ที่4 อนามัยสิ่งแวดล้อม อ.ที่5 อโรคยา และ อ.ที่7 อบายมุข ซึ่งจะต้องปฏิบัติควบคู่กันไปอย่างเหมาะสม สภาวการณ์ปัจจุบันพบว่าประชาชนในสังคมส่วนใหญ่จะประสบกับปัญหาทางด้านสุขภาพทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ อันเนื่องมาจากปัญหาสังคม การเมือง เศรษฐกิจ การว่างงาน ยาเสพติด โรคระบาด การเปลี่ยนแปลงทางภูมิศาสตร์ ภัยธรรมชาติ หรือพฤติกรรมการใช้ชีวิตส่วนตัว เช่น นิยมบริโภคอาหารจานด่วน ของขบเคี้ยว หรือชอบอยู่ในสังคมของโลกออนไลน์ เป็นต้น ซึ่งปัจจัยเหล่านี้ล้วนเป็นปัจจัยสำคัญที่ส่งเสริมให้เกิดความเครียดและเกิดโรคภัยไข้เจ็บ ต่าง ๆ ขึ้นมากมาย หรือในวัยผู้สูงอายุก็จะเกิดภาวะซึมเศร้าได้

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh