กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการประชาชนสุขภาพดีชีวีมีสุข ศูนย์แพทย์ใกล้ใจ 2 ประจำปี 2568 ”
ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส



หัวหน้าโครงการ
นางเคียงเพ็ญ ฐานะภักดี




ชื่อโครงการ โครงการประชาชนสุขภาพดีชีวีมีสุข ศูนย์แพทย์ใกล้ใจ 2 ประจำปี 2568

ที่อยู่ ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 68-L6961-1-04 เลขที่ข้อตกลง 10/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการประชาชนสุขภาพดีชีวีมีสุข ศูนย์แพทย์ใกล้ใจ 2 ประจำปี 2568 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการประชาชนสุขภาพดีชีวีมีสุข ศูนย์แพทย์ใกล้ใจ 2 ประจำปี 2568



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการประชาชนสุขภาพดีชีวีมีสุข ศูนย์แพทย์ใกล้ใจ 2 ประจำปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 68-L6961-1-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 98,900.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

คุณภาพชีวิตที่ดีถือว่าเป็นเป้าหลักของการดำเนินงานหลายๆภาคส่วนที่จะดำเนินงานแบบบูรณาการให้ประชาชนในพื้นที่มีคุณภาพชีวิตที่ดีในทุกๆด้านไม่ว่าจะเป็นในเรื่องของเศรษฐิจ สังคม สิ่งแวดล้อมและสถานะสุขภาพอนามัยที่ดีทั้งสุขภาพกายสุขภาพใจ ซึ่่งถือเป็นงานหลักของบริการระดับปฐมภูมิที่มีบทบาทในการดูแลส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรคและฟื้นฟูสุขภาพของประชาชนทุกกลุ่มวัยให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีตั้งแต่วัยเด็กจนถึงวัยชรา ดังนั้นการพัฒนาคุณภาพชีวิตจึงจำเป็นอย่างยิ่งที่ทุก ๆ ฝ่ายต้องให้ความร่วมมืออย่างจริงจังและต่อเนื่องในการดูแลบุคคลและครอบครัว ชุมชนเพื่อให้ประชาชนสามารถดำรงชีวิตและแก้ไขปัญหาที่ส่งผลกระทบต่vการดำเนินชีวิต ซึ่งปัญหาด้านสุขภาพก็เป็นอีกปัจจัยที่ส่งผลกระทบ
จากการดำเนินงานของศูนย์แพทย์ใกล้ใจ 2 ที่ดูแลประชาชนในเขตรับผิดชอบจำนวน 15 ชุมชน ในปีที่ผ่านมาพบว่า ประชาชนมีปัญหาสุขภาพทุกกลุ่มวัยและการเข้าถึงบริการสาธารณสุขขั้นพื้นฐานยังไม่ครอบคลุมทำให้เกิดปัญหาด้านสุขภาพตามมา เช่น การฝากครรภ์ของหญิงตั้งครรภ์ล่าช้า ไม่มาตามนัด หญิงตั้งครรภ์ไม่ให้ความสำคัญในการดูแลส่งเสริมสุขภาพระหว่างตั้งครรภ์ซึ่งจะมีผลกระทบต่อเด็กในครรภ์ในอนาคต นอกจากนี้ ปัญหาสุขภาพของเด็ก 0-5 ปีได้รับวัคซีนขั้นพื้นฐานครอบคลุมน้อยกว่าเกณฑ์ที่กำหนด เนื่องมาจากความเชื่อที่ไม่ถูกต้องเกี่ยวกับวัคซีนและผู้ปกครองส่วนใหญ่มีอาชีพรับจ้างไม่มีเวลาดูแลบุตรหลาน เด็กวัยเรียนตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร ส่วนในวัยทำงาน พบว่า ปัญหาโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เช่น โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงและโรคหลอดเลือดสมอง มีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้นซึ่งเป็นผลมาจากพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสม เช่น ไม่ออกกำลังกาย รับประทานอาหารหวาน มัน เค็ม ซึ่งเป็นจุดเด่น ตามวิถีชีวิตของประชาชนในพื้นที่ ในกลุ่มผู้สูงอายุมีแนวโน้มของจำนวนผู้สูงอายุ และผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงเพิ่มขึ้น และขาดผู้ดูแล ส่งผลให้เกิดปัญหาต่อครอบครัว ชุมชนและสังคม จากเหตุดังกล่าว ศูนย์แพทย์ใกล้ใจ 2 ได้เล็งเห็นความสำคัญของปัญหาสุขภาพประชาชน จึงได้จัดทำโครงการประชาชนสุขภาพดีชีวีมีสุข ศูนย์แพทย์ใกล้ใจ 2 ประจำปี 2568 นี้ขึ้น เพื่อให้ความรู้ด้านสุขภาพและสร้างกระแสให้ประชาชนเห็นความสำคัญและใส่ใจเรื่องสุขภาพให้มากขึ้น โดยใช้หลักง่าย ๆ 3อ. 2ส. มาปรับใช้ในชีวิตประจำวันในการดูแลสุขภาพและป้องกันโรค โดยเริ่มตั้งแต่การดูแลตนเอง ครอบครัว และชุมชนโดยเน้นการมีส่วนร่วมของเครือข่ายภาครัฐ เอกชน และประชาชน บูรณาการร่วมกันในการดูแล ส่งเสริม สุขภาพของประชาชนให้มีความเข้มแข็ง ยั่งยืนซึ่งส่งผลให้ประชาชนที่มีคุณภาพชีวิตที่ดีทั้งสุขภาพกายสุขภาพใจ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพตนเอง ครอบครัวและชุมชน
  2. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีทักษะในการจัดการและแก้ไขปัญหาสุขภาพได้
  3. เพื่อส่งสริมให้ประชาชนเข้าถึงบริการสาธารณสุขเพิ่มขึ้นและมีความประทับใจในบริการของสถานบริการสาธารณสุขใกล้บ้านและแม่ข่าย
  4. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ในการดูแลสุขภาพของตนเองและครอบครัวได้เพิ่มขึ้น

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้เชิงปฎิบัติการภาคประชาชน
  2. พัฒนาศักยภาพแกนนำสร้างเสริมสุขภาพภาคประชาชนในชุมชนนำร่อง 2 ชุมชนเพื่อจัดตั้งสถานีสุขภาพ Health station (ชุมชนตันหยงมะลิและชุมชนทรายทอง)
  3. จัดตั้งสถานีสุขภาพ(Health station) นำร่อง 2 ชุมชน
  4. ติดตามผลการดำเนินงานในชุมชนอย่างต่อเนื่อง ทั้ง 2 สถานี

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 30
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 20
กลุ่มวัยทำงาน 100
กลุ่มผู้สูงอายุ 50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. มีสถานีสุขภาพที่ประชาชนเข้าถึงและได้รับบริการที่ดีในชุมชนนำร่อง 2 ชุมชน และมีการดำเนินกิจกรรมต่อเนื่อง
  2. ขยายสถานีสุขภาพในปีต่อไปได้อย่างน้อย 50 %ของชุมที่ยังไม่ดำเนินกิจกรรม
  3. ประชาชนได้รับการดูแลจากแกนนำสุขภาพทุกกลุ่มวัย และได้รับการส่งต่อเพื่อรับการดูแลอย่างมีประสิทธิภาพ
  4. ประชาชนมีความรู้ในการดูแลสุขภาพของตนเองและครอบครัวได้เพิ่มขึ้น

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพตนเอง ครอบครัวและชุมชน
ตัวชี้วัด : 1. ประชาชนมีความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพในด้านการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคและการฟื้นฟูสุขภาพตนเองและครอบครัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 80 2. อัตราการคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตสูงมากกว่าร้อยละ 90 3. หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรกเมื่ออายุครรภ์น้อยกว่า 12 สัปดาห์ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 4. ความครอบคลุมของเด็กอายุ 9 18 30 42 60 เดือนได้รับการตรวจพัฒนาการร้อยละ 90 5. ร้อยละของเด็กอายุ 1 ปีได้รับวัคซีน MMR1 มากกว่า 95% 6. ร้อยละของเด็กอายุครบ 3 ปีได้รับวัคซีน MMR2 มากกว่า 95% 7. อัตราการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในสตรีไทยอายุ 30-60 ปีมากกว่าร้อยละ 20 8. ร้อยละของประชากรอายุ 50-70 ปีได้รับการคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ตรงโดยวิธิการตรวจ Fit test 50 9. อัตราการคัดกรองผู้สูงอายุ 9 ด้านเพิ่มขึ้น ร้อยละ 80 10. อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลงร้อยละ 20 จากค่ามัธยฐาน 5 ปีย้อนหลัง
60.00 80.00

 

2 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีทักษะในการจัดการและแก้ไขปัญหาสุขภาพได้
ตัวชี้วัด : ประชาชนมีทักษะในการจัดการและแก้ไขปัญหาสุขภาพได้
40.00 70.00

 

3 เพื่อส่งสริมให้ประชาชนเข้าถึงบริการสาธารณสุขเพิ่มขึ้นและมีความประทับใจในบริการของสถานบริการสาธารณสุขใกล้บ้านและแม่ข่าย
ตัวชี้วัด : ประชาชนเข้าถึงบริการสาธารณสุขเพิ่มขึ้นและมีความประทับใจในบริการของสถานบริการสาธารณสุขใกล้บ้านและแม่ข่าย
50.00 70.00

 

4 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ในการดูแลสุขภาพของตนเองและครอบครัวได้เพิ่มขึ้น
ตัวชี้วัด : ประชาชนมีความรู้ในการดูแลสุขภาพของตนเองและครอบครัวได้เพิ่มขึ้น
50.00 80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 200
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 30
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 20
กลุ่มวัยทำงาน 100
กลุ่มผู้สูงอายุ 50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพตนเอง ครอบครัวและชุมชน (2) เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีทักษะในการจัดการและแก้ไขปัญหาสุขภาพได้ (3) เพื่อส่งสริมให้ประชาชนเข้าถึงบริการสาธารณสุขเพิ่มขึ้นและมีความประทับใจในบริการของสถานบริการสาธารณสุขใกล้บ้านและแม่ข่าย (4) เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ในการดูแลสุขภาพของตนเองและครอบครัวได้เพิ่มขึ้น

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้เชิงปฎิบัติการภาคประชาชน (2) พัฒนาศักยภาพแกนนำสร้างเสริมสุขภาพภาคประชาชนในชุมชนนำร่อง 2 ชุมชนเพื่อจัดตั้งสถานีสุขภาพ Health station (ชุมชนตันหยงมะลิและชุมชนทรายทอง) (3) จัดตั้งสถานีสุขภาพ(Health station) นำร่อง 2 ชุมชน (4) ติดตามผลการดำเนินงานในชุมชนอย่างต่อเนื่อง ทั้ง 2 สถานี

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการประชาชนสุขภาพดีชีวีมีสุข ศูนย์แพทย์ใกล้ใจ 2 ประจำปี 2568 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 68-L6961-1-04

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางเคียงเพ็ญ ฐานะภักดี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด