โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายด้วยการฟ้อนรำ
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายด้วยการฟ้อนรำ ”
หัวหน้าโครงการ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลอุโมงค์
กันยายน 2567
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายด้วยการฟ้อนรำ
ที่อยู่ จังหวัด
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กันยายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายด้วยการฟ้อนรำ จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลอุโมงค์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายด้วยการฟ้อนรำ
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายด้วยการฟ้อนรำ " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กันยายน 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 35,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลอุโมงค์ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เมืองของคนสุขภาพดี ทุกภาคีมีส่วนร่วม ศูนย์รวมแห่งภูมิปัญญา พัฒนาด้วยเทคโนโลยีเป็นวิสัยทัศน์ในการพัฒนาตำบลอุโมงค์ ดังนั้นการที่ประชาชนทุกคนในพื้นที่สามารถเข้าถึงการบริการด้านสุขภาพทั้งด้านการส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรคและรักษาสุขภาพ เพื่อให้มีสุขภาพร่างกายที่ดี เป็นสิ่งสำคัญตำบลอุโมงค์ มีพื้นที่ 20.09 ตร.กม. สภาพพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่เกษตรกรรม ประชาชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรมีทั้งหมด 11 หมู่บ้าน ประชากรทั้งสิ้น 13,070 คน เป็นชาย6,173 คน เป็นหญิง 6,897 คน ผู้สูงอายุ 3,069 คน คิดเป็นร้อยละ 23ประชากรที่อายุน้อยกว่า 1 ปีเต็มมี 86 คน คิดเป็นร้อยละ 0.65ปิรามิดประชากรมีรูปคว่ำ ซึ่งมีแนวโน้มที่จะเริ่มเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ ปัจจุบันการรวมกลุ่มทางสังคมจะมีเฉพาะเวลามีงานประเพณีการออกกำลังกายหรือการรวมกลุ่มทำกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ ในพื้นที่เฉลี่ยสัปดาห์ละ3 ครั้งส่วนหนึ่งอาจมาจากสาเหตุของสภาพเศรษฐกิจและสังคม ที่เปลี่ยนแปลงไปทำให้คนมีวิถีชีวิตเปลี่ยนแปลงไป เร่งรีบ และให้ความสำคัญกับปัญหาปากท้อง เป็นครอบครัวสังคมเดี่ยว มีการรวมตัวกันทำกิจกรรม ทางกาย ประเพณี วัฒนธรรม ภูมิปัญญาต่างๆ น้อยลง ทำให้ความสัมพันธ์ในชุมชนไม่แน่นแฟ้น เกิดภาวะเครียดและการเจ็บป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเพิ่มมากขึ้นดังนั้น กลุ่ม ชมรมคนฮักสุขภาพ และอนุรักษ์ฟ้อนล้านนา ของตำบลอุโมงค์จึงมีความประสงค์ที่จะดำรงไว้ซึ่งกิจกรรมการรวมกลุ่มกัน เพื่อสร้างเสริมสุขภาพและอนุรักษ์วัฒนธรรม ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ส่งเสริมความสัมพันธ์ และสร้างสุขภาพที่ดีให้กับคนในชุมชน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อเพิ่มการออกกำลังกายในชุมชน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมชี้แจงโครงการและร่วมรับฟังความคิดเห็น คณะกรรมการชมรมคนฮักสุขภาพ และอนุรักษ์ฟ้อนล้านนาในเรื่องการจัดกิจกรรม และการใช้จ่ายงบประมาณ
- จัดอบรมให้ความรู้ด้านสุขภาพ การออกกำลังกาย การฟ้อนล้านนา และการส่งเสริมสุขภาพด้วยการเคลื่อนใหวร่างกายในกิจกรรมต่างๆ
- การรวมกลุ่มทำกิจกรรมฟ้อนล้านนา เดือนละ 1 ครั้ง
- รวมกลุ่มทำกิจกรรมฟ้อนล้านนา ในงานกิจกรรมของชุมชน
- ควบคุม กำกับ ติดตาม ดูแล
- ประชุมสรุปผลการดำเนินโครงการ และรายงานผลการดำเนินการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ด้านผลผลิต
1.กลุ่ม ชมรมคนฮักสุขภาพ และอนุรักษ์ฟ้อนล้านนา มีการรวมกลุ่มกันทำกิจกรรมการฟ้อนเพื่อสุขภาพ ร่วมกับหน่อยงานอื่น ในพื้นที่ อย่างน้อย ปีละ 4 ครั้ง
2.กลุ่ม ชมรมคนฮักสุขภาพ และอนุรักษ์ฟ้อนล้านนา มีการรวมกลุ่มกันทำกิจกรรมทางกายเช่นออกกำลังกาย ฟ้อนรำ ยืดเยียดร่างกาย อย่างน้อยสัปดาห์ละ 1 ครั้ง
3.ประชาชนมีการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้วัฒนธรรมการฟ้อนรำ ที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพร่วมกันจำนวน 2 ครั้ง
ด้านผลลัพธ์
1.การออกกำลังกายโดยการฟ้อนล้านนาเป็นที่รู้จักของคนในตำบลอุโมงค์มากขึ้น
2.สร้างแรงกระตุ้นให้คนในชุมชนหันมาให้ความสนใจ และร่วมใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์โดยการฟ้อนล้านนา
3.สร้างรายได้จากการฟ้อนล้านนาเพื่อนำมาพัฒนาและต่อยอดการดำเนินการของกลุ่มชมรมคนฮักสุขภาพ และอนุรักษ์ฟ้อนล้านนา
4. ประชาชนในตำบลเห็นความสำคัญของการออกกำลังกาย และการอนุรักษ์การฟ้อนล้านนา และเข้าร่วมกิจกรรมดังกล่าว ซึ่งจะส่งผลให้ได้รับความสุข สนุกสนานและได้ออกกำลังกายร่วมกัน
ส่งเสริมให้มีความสัมพันธ์อันดี มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี และอนุรักษ์ประเพณีวัฒนธรรมให้คงอยู่สืบต่อไป
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อเพิ่มการออกกำลังกายในชุมชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของคนที่ออกกำลังกายในชุมชน
75.70
80.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
100
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มการออกกำลังกายในชุมชน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมชี้แจงโครงการและร่วมรับฟังความคิดเห็น คณะกรรมการชมรมคนฮักสุขภาพ และอนุรักษ์ฟ้อนล้านนาในเรื่องการจัดกิจกรรม และการใช้จ่ายงบประมาณ (2) จัดอบรมให้ความรู้ด้านสุขภาพ การออกกำลังกาย การฟ้อนล้านนา และการส่งเสริมสุขภาพด้วยการเคลื่อนใหวร่างกายในกิจกรรมต่างๆ (3) การรวมกลุ่มทำกิจกรรมฟ้อนล้านนา เดือนละ 1 ครั้ง (4) รวมกลุ่มทำกิจกรรมฟ้อนล้านนา ในงานกิจกรรมของชุมชน (5) ควบคุม กำกับ ติดตาม ดูแล (6) ประชุมสรุปผลการดำเนินโครงการ และรายงานผลการดำเนินการ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายด้วยการฟ้อนรำ จังหวัด
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายด้วยการฟ้อนรำ ”
หัวหน้าโครงการ
กันยายน 2567
ที่อยู่ จังหวัด
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กันยายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายด้วยการฟ้อนรำ จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลอุโมงค์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายด้วยการฟ้อนรำ
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายด้วยการฟ้อนรำ " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กันยายน 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 35,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลอุโมงค์ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เมืองของคนสุขภาพดี ทุกภาคีมีส่วนร่วม ศูนย์รวมแห่งภูมิปัญญา พัฒนาด้วยเทคโนโลยีเป็นวิสัยทัศน์ในการพัฒนาตำบลอุโมงค์ ดังนั้นการที่ประชาชนทุกคนในพื้นที่สามารถเข้าถึงการบริการด้านสุขภาพทั้งด้านการส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรคและรักษาสุขภาพ เพื่อให้มีสุขภาพร่างกายที่ดี เป็นสิ่งสำคัญตำบลอุโมงค์ มีพื้นที่ 20.09 ตร.กม. สภาพพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่เกษตรกรรม ประชาชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรมีทั้งหมด 11 หมู่บ้าน ประชากรทั้งสิ้น 13,070 คน เป็นชาย6,173 คน เป็นหญิง 6,897 คน ผู้สูงอายุ 3,069 คน คิดเป็นร้อยละ 23ประชากรที่อายุน้อยกว่า 1 ปีเต็มมี 86 คน คิดเป็นร้อยละ 0.65ปิรามิดประชากรมีรูปคว่ำ ซึ่งมีแนวโน้มที่จะเริ่มเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ ปัจจุบันการรวมกลุ่มทางสังคมจะมีเฉพาะเวลามีงานประเพณีการออกกำลังกายหรือการรวมกลุ่มทำกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ ในพื้นที่เฉลี่ยสัปดาห์ละ3 ครั้งส่วนหนึ่งอาจมาจากสาเหตุของสภาพเศรษฐกิจและสังคม ที่เปลี่ยนแปลงไปทำให้คนมีวิถีชีวิตเปลี่ยนแปลงไป เร่งรีบ และให้ความสำคัญกับปัญหาปากท้อง เป็นครอบครัวสังคมเดี่ยว มีการรวมตัวกันทำกิจกรรม ทางกาย ประเพณี วัฒนธรรม ภูมิปัญญาต่างๆ น้อยลง ทำให้ความสัมพันธ์ในชุมชนไม่แน่นแฟ้น เกิดภาวะเครียดและการเจ็บป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเพิ่มมากขึ้นดังนั้น กลุ่ม ชมรมคนฮักสุขภาพ และอนุรักษ์ฟ้อนล้านนา ของตำบลอุโมงค์จึงมีความประสงค์ที่จะดำรงไว้ซึ่งกิจกรรมการรวมกลุ่มกัน เพื่อสร้างเสริมสุขภาพและอนุรักษ์วัฒนธรรม ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ส่งเสริมความสัมพันธ์ และสร้างสุขภาพที่ดีให้กับคนในชุมชน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อเพิ่มการออกกำลังกายในชุมชน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมชี้แจงโครงการและร่วมรับฟังความคิดเห็น คณะกรรมการชมรมคนฮักสุขภาพ และอนุรักษ์ฟ้อนล้านนาในเรื่องการจัดกิจกรรม และการใช้จ่ายงบประมาณ
- จัดอบรมให้ความรู้ด้านสุขภาพ การออกกำลังกาย การฟ้อนล้านนา และการส่งเสริมสุขภาพด้วยการเคลื่อนใหวร่างกายในกิจกรรมต่างๆ
- การรวมกลุ่มทำกิจกรรมฟ้อนล้านนา เดือนละ 1 ครั้ง
- รวมกลุ่มทำกิจกรรมฟ้อนล้านนา ในงานกิจกรรมของชุมชน
- ควบคุม กำกับ ติดตาม ดูแล
- ประชุมสรุปผลการดำเนินโครงการ และรายงานผลการดำเนินการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 100 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ด้านผลผลิต 1.กลุ่ม ชมรมคนฮักสุขภาพ และอนุรักษ์ฟ้อนล้านนา มีการรวมกลุ่มกันทำกิจกรรมการฟ้อนเพื่อสุขภาพ ร่วมกับหน่อยงานอื่น ในพื้นที่ อย่างน้อย ปีละ 4 ครั้ง 2.กลุ่ม ชมรมคนฮักสุขภาพ และอนุรักษ์ฟ้อนล้านนา มีการรวมกลุ่มกันทำกิจกรรมทางกายเช่นออกกำลังกาย ฟ้อนรำ ยืดเยียดร่างกาย อย่างน้อยสัปดาห์ละ 1 ครั้ง 3.ประชาชนมีการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้วัฒนธรรมการฟ้อนรำ ที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพร่วมกันจำนวน 2 ครั้ง
ด้านผลลัพธ์
1.การออกกำลังกายโดยการฟ้อนล้านนาเป็นที่รู้จักของคนในตำบลอุโมงค์มากขึ้น
2.สร้างแรงกระตุ้นให้คนในชุมชนหันมาให้ความสนใจ และร่วมใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์โดยการฟ้อนล้านนา
3.สร้างรายได้จากการฟ้อนล้านนาเพื่อนำมาพัฒนาและต่อยอดการดำเนินการของกลุ่มชมรมคนฮักสุขภาพ และอนุรักษ์ฟ้อนล้านนา
4. ประชาชนในตำบลเห็นความสำคัญของการออกกำลังกาย และการอนุรักษ์การฟ้อนล้านนา และเข้าร่วมกิจกรรมดังกล่าว ซึ่งจะส่งผลให้ได้รับความสุข สนุกสนานและได้ออกกำลังกายร่วมกัน
ส่งเสริมให้มีความสัมพันธ์อันดี มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี และอนุรักษ์ประเพณีวัฒนธรรมให้คงอยู่สืบต่อไป
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อเพิ่มการออกกำลังกายในชุมชน ตัวชี้วัด : ร้อยละของคนที่ออกกำลังกายในชุมชน |
75.70 | 80.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 100 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 100 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มการออกกำลังกายในชุมชน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมชี้แจงโครงการและร่วมรับฟังความคิดเห็น คณะกรรมการชมรมคนฮักสุขภาพ และอนุรักษ์ฟ้อนล้านนาในเรื่องการจัดกิจกรรม และการใช้จ่ายงบประมาณ (2) จัดอบรมให้ความรู้ด้านสุขภาพ การออกกำลังกาย การฟ้อนล้านนา และการส่งเสริมสุขภาพด้วยการเคลื่อนใหวร่างกายในกิจกรรมต่างๆ (3) การรวมกลุ่มทำกิจกรรมฟ้อนล้านนา เดือนละ 1 ครั้ง (4) รวมกลุ่มทำกิจกรรมฟ้อนล้านนา ในงานกิจกรรมของชุมชน (5) ควบคุม กำกับ ติดตาม ดูแล (6) ประชุมสรุปผลการดำเนินโครงการ และรายงานผลการดำเนินการ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายด้วยการฟ้อนรำ จังหวัด
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......