กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลปริก ปีงบประมาณ 2568 ”
เทศบาล ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นางสาวอัมพร ศิริวัฒน์




ชื่อโครงการ โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลปริก ปีงบประมาณ 2568

ที่อยู่ เทศบาล ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 67-l7889-4-01 เลขที่ข้อตกลง 1/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลปริก ปีงบประมาณ 2568 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน เทศบาล ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลปริก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลปริก ปีงบประมาณ 2568



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลปริก ปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ เทศบาล ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 67-l7889-4-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2567 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 90,000.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลปริก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล       องค์การสหประชาชาติได้กำหนดเป้าหมายของการพัฒนาที่ยั่งยืนในช่วงระหว่างปีพ.ศ.2558-2573 ซึ่งการมีหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้านั้น ได้ถูกกำหนดให้เป็นส่วนหนึ่งของการพัฒนาที่ยั่งยืนของสหประชาชาติและสำหรับประเทศไทย การดำเนินงานด้านหลักประกันสุขภาพของประชาชนได้เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรม ตั้งแต่ ปีพ.ศ. 2545  อันส่งผลให้เกิดประโยชน์ต่อประชาชนชาวไทยทุกคน ในการเข้าถึงบริการด้านการสาธารณสุขอย่างทั่วถึงตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา การดำเนินงานร่วมกันในด้านการบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพ ภายใต้ความร่วมมือระหว่างสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ได้ช่วยส่งเสริมให้ประชาชนในกลุ่มที่ต้องได้รับการบริการด้านการสาธารณสุขเป็นกรณีพิเศษ อาทิ กลุ่มแม่และเด็ก      กลุ่มผู้สูงอายุกลุ่มคนพิการ กลุ่มผู้ประกอบอาชีพที่มีความเสี่ยง รวมถึงกลุ่มผู้ป่วยที่มีโรคเรื้อรังสามารถเข้าถึงบริการทางสุขภาพอย่างเหมาะสม และทั่วถึงตามเจตนารมณ์แห่งพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติพ.ศ. 2545    ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ. 2567 ข้อ 6 ได้กำหนดให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นผู้ดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่  โดยการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ มีวัตถุประสงค์เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการสาธารณสุขของหน่วยบริการ สถานบริการ หน่วยงานสาธารณสุขหน่วยงานอื่น องค์กรหรือกลุ่มประชาชน เพื่อให้บุคคลสามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุขได้อย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพ กองทุนฯท้องถิ่นจึงเป็นแหล่งทุนที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจะบริหารจัดการเพื่อให้กับประชาชนทุกกลุ่มวัยในพื้นที่ได้รับบริการดูแลสุขภาพอย่างครอบคลุมและเหมาะสม       กองทุนระบบหลักประกันสุขภาพ เทศบาลตำบลปริก เห็นความสำคัญของการมีส่วนร่วมในการจัดการด้านการส่งเสริมและป้องกันโรคให้กับประชาชนในพื้นที่ เพื่อให้ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี ดังนั้นการบริหารจัดการกองทุนเป็นกลไกสำคัญในการที่จะเชื่อมโยงเข้าถึง การประสาน การทำงานให้คณะกรรมการบริหารกองทุนเข้าใจวัตถุประสงค์การบริหารงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ เข้าใจแนวทางการปฏิบัติงานที่ชัดเจน บทบาทและหน้าที่ของตนเองในการร่วมเป็นคณะกรรมการ การใช้โปรแกรมในการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในการทำงานด้านบัญชี การดำเนินโครงการ กิจกรรม และการจัดการข้อมูลพื้นฐาน ส่งผลให้ดำเนินการการบริหารจัดการงานอย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นต่อไป จึงได้จัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนระบบหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลปริกขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อขับเคลื่อนการบริหารงานกองทุนฯให้ครอบคลุมตามวัตถุประสงค์กองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับพื้นที่
  2. เพื่อบริหารจัดการกองทุนฯให้มีประสิทธิภาพ ถูกต้อง โปร่งใส่ ตรวจสอบได้ และเกิดประโยชน์สูงสุดต่อประชาชน
  3. เพื่อพัฒนาศักยภาพ แลกเปลี่ยนความรู้ คณะกรรมการบริหารกองทุนฯคณะอนุกรรมการกองทุนฯฝ่ายต่างๆและคณะทำงาน เจ้าหน้าที่ชุมชนให้มีความรู้ ความเข้าใจแนวทางการดำเนินงานกองทุนฯ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมพัฒนาศักยภาพ แลกเปลี่ยนความรู้ คณะกรรมการฯคณะอนุกรรมการฯ ,คณะทำงาน,เจ้าหน้าที่ชุมชน
  2. บริหารจัดการประเภท ครุภัณฑ์วัสดุสำนักงาน ค่าจ้าง
  3. บริหารจัดการซ่อมแซมบำรุงและรักษา
  4. จัดทำประชาคมสุขภาพในชุมชนทุกชุมชน และที่เทศบาลตำบลปริก
  5. ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ,คณะอนุกรรมการฝ่ายต่างๆ ,คณะทำงาน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. คณะกรรมการบริหารฯ อนุกรรมการฝ่ายต่างๆ เข้าใจวัตถุประสงค์ แนวทางการปฏิบัติงานที่ชัดเจนบทบาทและหน้าที่ของตนเองในการร่วมเป็นคณะกรรมการตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพ ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ. ๒๕๖๑ และการบริหารงานกองทุนหลักประกันสุขภาพให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
  2. คณะกรรมการบริหารฯและคณะอนุกรรมการฝ่ายต่างๆ คณะทำงาน มีความรู้ ความเข้าใจในการกลั่นกรองโครงการ การอนุมัติโครงการ ติดตามโครงการกิจกรรม และแนวทางการดำเนินงานที่เป็นไปในทิศทางเดียวกัน
  3. คณะกรรมการบริหารฯ คณะอนุกรรมการฝ่ายต่างๆ คณะทำงาน เจ้าหน้าที่ชุมชน มีการพัฒนาศักยภาพตนเอง แลกเปลี่ยนความรู้ ประสบการณ์ เรียนรู้กรณีศึกษาต่างๆ สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการแก้ไขปัญหา และบริหารจัดการกองทุนฯได้อย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อขับเคลื่อนการบริหารงานกองทุนฯให้ครอบคลุมตามวัตถุประสงค์กองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับพื้นที่
ตัวชี้วัด : ผลลัพธ์เชิงปริมาณ : การสนับสนุนงบประมาณแก่หน่วยรับทุน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของรายได้ ปี 2568 ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ : การสนับสนุนงบประมาณครอบคลุมหน่วยรับทุน 8 ประเภท และครอบคลุม 8 กลุ่มเป้าหมาย
0.00

 

2 เพื่อบริหารจัดการกองทุนฯให้มีประสิทธิภาพ ถูกต้อง โปร่งใส่ ตรวจสอบได้ และเกิดประโยชน์สูงสุดต่อประชาชน
ตัวชี้วัด : ผลลัพธ์เชิงปริมาณ : การบริหารจัดการกองทุนโปร่งใส ตรวจสอบได้ร้อยละ 100 ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ : การเข้าถึงข้อมูลเพื่อตรวจสอบความโปร่งใส สามารถเข้าถึงได้ง่าย
0.00

 

3 เพื่อพัฒนาศักยภาพ แลกเปลี่ยนความรู้ คณะกรรมการบริหารกองทุนฯคณะอนุกรรมการกองทุนฯฝ่ายต่างๆและคณะทำงาน เจ้าหน้าที่ชุมชนให้มีความรู้ ความเข้าใจแนวทางการดำเนินงานกองทุนฯ
ตัวชี้วัด : ผลลัพธ์เชิงปริมาณ : คณะกรรมการกองทุนฯ คณะทำงาน เจ้าหน้าที่ชุมชนได้รับการพัฒนาศักยภาพ แลกเปลี่ยนความรู้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ : การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการฯ คณะทำงาน เจ้าหน้าที่ชุมชน ทำให้เกิดการบริหารจัดการกองทุนมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อขับเคลื่อนการบริหารงานกองทุนฯให้ครอบคลุมตามวัตถุประสงค์กองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับพื้นที่ (2) เพื่อบริหารจัดการกองทุนฯให้มีประสิทธิภาพ ถูกต้อง โปร่งใส่ ตรวจสอบได้ และเกิดประโยชน์สูงสุดต่อประชาชน (3) เพื่อพัฒนาศักยภาพ แลกเปลี่ยนความรู้ คณะกรรมการบริหารกองทุนฯคณะอนุกรรมการกองทุนฯฝ่ายต่างๆและคณะทำงาน เจ้าหน้าที่ชุมชนให้มีความรู้ ความเข้าใจแนวทางการดำเนินงานกองทุนฯ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมพัฒนาศักยภาพ แลกเปลี่ยนความรู้ คณะกรรมการฯคณะอนุกรรมการฯ ,คณะทำงาน,เจ้าหน้าที่ชุมชน (2) บริหารจัดการประเภท ครุภัณฑ์วัสดุสำนักงาน ค่าจ้าง (3) บริหารจัดการซ่อมแซมบำรุงและรักษา (4) จัดทำประชาคมสุขภาพในชุมชนทุกชุมชน และที่เทศบาลตำบลปริก (5) ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ,คณะอนุกรรมการฝ่ายต่างๆ  ,คณะทำงาน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลปริก ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 67-l7889-4-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวอัมพร ศิริวัฒน์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด