เด็กกำแพงไร้พุง ปี 2
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ เด็กกำแพงไร้พุง ปี 2 ”
หัวหน้าโครงการ
นางสาวจารี วุฒิมานพ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กำแพง
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ เด็กกำแพงไร้พุง ปี 2
ที่อยู่ จังหวัด
รหัสโครงการ 2568-L8010-2-01 เลขที่ข้อตกลง 02/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"เด็กกำแพงไร้พุง ปี 2 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กำแพง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
เด็กกำแพงไร้พุง ปี 2
บทคัดย่อ
โครงการ " เด็กกำแพงไร้พุง ปี 2 " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ 2568-L8010-2-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 84,090.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กำแพง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากการดำเนินโครงการเด็กกำแพงไร้พุง ผลปรากฏว่า นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และ 2 จำนวน 772 คน มีภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนทั้งหมดจำนวน 82 คน คิดเป็น 10.62 %ซึ่งก่อนเข้าร่วมโครงการเด็กกำแพงไร้พุง นักเรียนที่มีภาวะเริ่มอ้วนและอ้วน ซึ่งเป็นกลุ่มเป้าหมายนั้น มีน้ำหนักเฉลี่ยก่อนเข้าร่วมโครงการเด็กกำแพงไร้พุงคือ 79.01 กิโลกรัม และมีค่าดัชนีมวลกาย (BMI) คือ 30.31 และหลังเข้าร่วมโครงการเด็กกำแพงไร้พุง นักเรียนกลุ่มเป้าหมายมีน้ำหนักเฉลี่ยหลังเข้าร่วมโครงการเด็กกำแพงไร้พุงคือ 78.18 กิโลกรัม และมีค่าดัชนีมวลกาย (BMI) คือ 29.24 ซึ่งในการดำเนินกิจกรรมเด็กกำแพงไร้พุงพบว่ามีนักเรียนที่ดำเนินกิจกรรมสำเร็จจำนวน 49 คน คิดเป็น 59.76 % และมีนักเรียนที่ดำเนินกิจกรรมเด็กกำแพงไร้พุงไม่สำเร็จจำนวน 33 คน คิดเป็น 40.24 %
โดยจากการถอดบทเรียนโครงการเด็กกำแพงไร้พุง พบว่า นักเรียนและผู้ปกครองยังไม่เห็นถึงความสำคัญของการดูแลสุขภาพ โรงเรียนยังไม่ได้มีการกำหนดกฎกติกาหรือข้อตกลงร่วมกับผู้ปกครองในเรื่องของการดูแลภาวะทุพโภชนาการเกินเกณฑ์ของนักเรียน ขาดความหลากหลายในส่วนของกิจกรรมเด็กกำแพงไร้พุง นักเรียนกลุ่มเป้าหมาย ร้อยละ 50 ขาดเเรงจูงใจในการทำกิจกรรม นักเรียนร้อยละ 100 มีความสุขในการเข้าร่วมกิจกรรมเด็กกำแพงไร้พุงขาดการติดตามข้อมูลจากครูที่ปรึกษาและผู้ปกครองอย่างจริงจัง
ดังนั้น โรงเรียนกำแพงวิทยา จึงดําเนินโครงการเด็กกำแพงไร้พุง ปี 2 ขึ้น เพื่อเป็นการสานต่อให้แก่นักเรียนที่มีภาวะเริ่มอ้วนและอ้วน ได้สามารถดูแลป้องกันรักษาสุขภาพ มีพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ดีเหมาะสมกับวัย เติบโตอย่างเต็มศักยภาพ มีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรงสมบูรณ์ ต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ทักษะ และเจตคติที่ดีในการดูแลสุขภาพ การออกกําลังกาย การบริโภคอาหาร
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประเมินภาวะสุขภาพ
- ยกระดับผู้ปกครองเพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
- พัฒนาศักยภาพนักเรียนแกนนำ
- หุ่นดีสร้างได้
- ถอดบทเรียน
- จัดทำรูปเล่มรายงานผล
- สรุปผลการดำเนินโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
คณะทำงาน
36
นักเรียน
82
ผู้ปกครอง
82
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจ เรื่องภาวะทุพโภชนาการน้ำหนักเกินเกณฑ์ (โรคอ้วน)
- ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ในการเลือกรับประทานอาหาร ผักผลไม้ที่มีประโยชน์ และปริมาณเหมาะสมกับร่างกาย
- นักเรียนโรงเรียนกำแพงวิทยามีภาวะสุขภาพที่เหมาะสมตามวัย
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ทักษะ และเจตคติที่ดีในการดูแลสุขภาพ การออกกําลังกาย การบริโภคอาหาร
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 90 นักเรียนมีความรู้ ทักษะ และเจตคติที่ดีในการดูแลสุขภาพ การออกกําลังกาย การบริโภคอาหารเพิ่มขึ้น
2. ร้อยละ 70 นักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรม มีค่าดัชนีมวลกายลดลง
3. เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเป้าหมาย
70.00
90.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
200
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
คณะทำงาน
36
นักเรียน
82
ผู้ปกครอง
82
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ทักษะ และเจตคติที่ดีในการดูแลสุขภาพ การออกกําลังกาย การบริโภคอาหาร
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประเมินภาวะสุขภาพ (2) ยกระดับผู้ปกครองเพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ (3) พัฒนาศักยภาพนักเรียนแกนนำ (4) หุ่นดีสร้างได้ (5) ถอดบทเรียน (6) จัดทำรูปเล่มรายงานผล (7) สรุปผลการดำเนินโครงการ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
เด็กกำแพงไร้พุง ปี 2 จังหวัด
รหัสโครงการ 2568-L8010-2-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวจารี วุฒิมานพ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ เด็กกำแพงไร้พุง ปี 2 ”
หัวหน้าโครงการ
นางสาวจารี วุฒิมานพ
กันยายน 2568
ที่อยู่ จังหวัด
รหัสโครงการ 2568-L8010-2-01 เลขที่ข้อตกลง 02/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"เด็กกำแพงไร้พุง ปี 2 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กำแพง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
เด็กกำแพงไร้พุง ปี 2
บทคัดย่อ
โครงการ " เด็กกำแพงไร้พุง ปี 2 " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ 2568-L8010-2-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 84,090.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กำแพง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากการดำเนินโครงการเด็กกำแพงไร้พุง ผลปรากฏว่า นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และ 2 จำนวน 772 คน มีภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนทั้งหมดจำนวน 82 คน คิดเป็น 10.62 %ซึ่งก่อนเข้าร่วมโครงการเด็กกำแพงไร้พุง นักเรียนที่มีภาวะเริ่มอ้วนและอ้วน ซึ่งเป็นกลุ่มเป้าหมายนั้น มีน้ำหนักเฉลี่ยก่อนเข้าร่วมโครงการเด็กกำแพงไร้พุงคือ 79.01 กิโลกรัม และมีค่าดัชนีมวลกาย (BMI) คือ 30.31 และหลังเข้าร่วมโครงการเด็กกำแพงไร้พุง นักเรียนกลุ่มเป้าหมายมีน้ำหนักเฉลี่ยหลังเข้าร่วมโครงการเด็กกำแพงไร้พุงคือ 78.18 กิโลกรัม และมีค่าดัชนีมวลกาย (BMI) คือ 29.24 ซึ่งในการดำเนินกิจกรรมเด็กกำแพงไร้พุงพบว่ามีนักเรียนที่ดำเนินกิจกรรมสำเร็จจำนวน 49 คน คิดเป็น 59.76 % และมีนักเรียนที่ดำเนินกิจกรรมเด็กกำแพงไร้พุงไม่สำเร็จจำนวน 33 คน คิดเป็น 40.24 % โดยจากการถอดบทเรียนโครงการเด็กกำแพงไร้พุง พบว่า นักเรียนและผู้ปกครองยังไม่เห็นถึงความสำคัญของการดูแลสุขภาพ โรงเรียนยังไม่ได้มีการกำหนดกฎกติกาหรือข้อตกลงร่วมกับผู้ปกครองในเรื่องของการดูแลภาวะทุพโภชนาการเกินเกณฑ์ของนักเรียน ขาดความหลากหลายในส่วนของกิจกรรมเด็กกำแพงไร้พุง นักเรียนกลุ่มเป้าหมาย ร้อยละ 50 ขาดเเรงจูงใจในการทำกิจกรรม นักเรียนร้อยละ 100 มีความสุขในการเข้าร่วมกิจกรรมเด็กกำแพงไร้พุงขาดการติดตามข้อมูลจากครูที่ปรึกษาและผู้ปกครองอย่างจริงจัง ดังนั้น โรงเรียนกำแพงวิทยา จึงดําเนินโครงการเด็กกำแพงไร้พุง ปี 2 ขึ้น เพื่อเป็นการสานต่อให้แก่นักเรียนที่มีภาวะเริ่มอ้วนและอ้วน ได้สามารถดูแลป้องกันรักษาสุขภาพ มีพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ดีเหมาะสมกับวัย เติบโตอย่างเต็มศักยภาพ มีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรงสมบูรณ์ ต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ทักษะ และเจตคติที่ดีในการดูแลสุขภาพ การออกกําลังกาย การบริโภคอาหาร
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประเมินภาวะสุขภาพ
- ยกระดับผู้ปกครองเพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
- พัฒนาศักยภาพนักเรียนแกนนำ
- หุ่นดีสร้างได้
- ถอดบทเรียน
- จัดทำรูปเล่มรายงานผล
- สรุปผลการดำเนินโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | ||
คณะทำงาน | 36 | |
นักเรียน | 82 | |
ผู้ปกครอง | 82 |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจ เรื่องภาวะทุพโภชนาการน้ำหนักเกินเกณฑ์ (โรคอ้วน)
- ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ในการเลือกรับประทานอาหาร ผักผลไม้ที่มีประโยชน์ และปริมาณเหมาะสมกับร่างกาย
- นักเรียนโรงเรียนกำแพงวิทยามีภาวะสุขภาพที่เหมาะสมตามวัย
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ทักษะ และเจตคติที่ดีในการดูแลสุขภาพ การออกกําลังกาย การบริโภคอาหาร ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 90 นักเรียนมีความรู้ ทักษะ และเจตคติที่ดีในการดูแลสุขภาพ การออกกําลังกาย การบริโภคอาหารเพิ่มขึ้น 2. ร้อยละ 70 นักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรม มีค่าดัชนีมวลกายลดลง 3. เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเป้าหมาย |
70.00 | 90.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 200 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - | ||
คณะทำงาน | 36 | ||
นักเรียน | 82 | ||
ผู้ปกครอง | 82 |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ทักษะ และเจตคติที่ดีในการดูแลสุขภาพ การออกกําลังกาย การบริโภคอาหาร
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประเมินภาวะสุขภาพ (2) ยกระดับผู้ปกครองเพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ (3) พัฒนาศักยภาพนักเรียนแกนนำ (4) หุ่นดีสร้างได้ (5) ถอดบทเรียน (6) จัดทำรูปเล่มรายงานผล (7) สรุปผลการดำเนินโครงการ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
เด็กกำแพงไร้พุง ปี 2 จังหวัด
รหัสโครงการ 2568-L8010-2-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวจารี วุฒิมานพ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......